การวิจัยแบบกรณีศึกษา (Case Study Research) อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
(Classroom Action Research)
Advertisements

โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
การเขียนบทความ.
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
การเขียน ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
การสังเกต อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
การศึกษารายกรณี.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ข้อบกพร่องที่พบในรายงาน โดย รศ.ดร.สุชาดา บวรกิติวงศ์
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
แนะนำวิทยากร.
การวิจัยสถาบัน ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
การวิจัยการศึกษา.
การติดตาม และประเมินโครงการ.
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การจัดกระทำข้อมูล.
บทที่ 8 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
การเฝ้าระวังกับนโยบายสังคม
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
การอ่าน วิชาศท ๐๓๑ การใช้ภาษาไทย.
โมดูล 5 ผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศ
การเขียนรายงานการวิจัย
การจัดทำ Research Proposal
การออกแบบการวิจัย (Research Design)
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
และการประเมินแบบมีส่วนร่วม
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
การเขียนรายงานการวิจัย
กระบวนการวิจัย Process of Research
สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
องค์ประกอบของการทบทวนวรรณกรรม
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
บทที่ 4 งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การเขียนรายงานผลการวิจัย
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิจัยแบบกรณีศึกษา (Case Study Research) อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์

หัวข้อนำเสนอ ความหมาย ลักษณะสำคัญ ประเภท ข้อดีและข้อจำกัด วิธีดำเนินการ ประเภท ความหมาย ลักษณะสำคัญ ข้อดีและข้อจำกัด

ความหมาย กรณีหรือสิ่งที่นักวิจัยทำการสืบค้นหาความรู้ความจริง เป็นระบบใดระบบหนึ่ง ที่มีขอบเขตเฉพาะเจาะจง บุคคล, กลุ่มบุคคล โครงการ, เหตุการณ์ สถานที่, ชุมชน , องค์กร เวลา ความหมายของการวิจัยแบบกรณีศึกษา เป็นวิธีการหรือ กลยุทธ์ดำเนินการสืบค้นหรือตรวจสอบปรากฏการณ์ภายในบริบทที่แวดล้อมปรากฏการณ์นั้น ผลผลิตสุดท้ายของการสืบค้นหาความรู้ความจริง เป็นการพรรณนาและวิเคราะห์ปรากฏการณ์อย่างละเอียดลุ่มลึกและเป็นแบบองค์รวม กระบวนการสืบค้นหาความรู้ ความจริง

ค้นหาแบบแผน ของปรากฎการณ์ ลักษณะสำคัญ ธรรมชาติ ลุ่มลึก ลักษณะสำคัญของการวิจัยแบบกรณีศึกษา หลากหลาย รูปแบ ลึกซึ้ง ค้นหาแบบแผน ของปรากฎการณ์ บรรยาย/อธิบาย

ประเภทของกรณีศึกษา ประเภท สาขาวิชา จุดมุงหมายรวม จุดมุ่งหมายเฉพาะ ชาติพันธุ์วรรณนา ประวัติศาสตร์ จิตวิทยา สังคมวิทยา การศึกษา สาขาวิชา จุดมุงหมายรวม พรรณนา ตีความ ประเมิน ประเภท จุดมุ่งหมายเฉพาะ เน้นสาระภายใน เน้นสารภายนอก รวมกลุ่ม

ข้อดี ผู้อ่านทราบและเข้าใจความเป็นจริงอย่างลุ่มลึกและ กระจ่างชัด ข้อมูลสารสนเทศสะท้อนคุณสมบัติของกรณีที่ศึกษา เก็บรวบรวมข้อมูลเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับกรณีที่ศึกษา เท่านั้น เก็บรวบรวมข้อมูลภายใต้สภาวการณ์ปกติธรรมชาติ ไม่ต้องควบคุม คาดหมาย หรือ จัดกระทำสิ่งใดๆ ข้อมูลที่ได้เป็นไปตามสภาพจริง เข้าใจง่าย และ- นำไปใช้ในการกำหนดแผนงาน/โครงการ ปรับปรุง การปฏิบัติงานได้ง่าย

ข้อจำกัด ไม่สามารถสรุปอ้างอิงไปสู่ประชากรได้ ผู้วิจัยต้องมีความรู้และประสบการณ์มาก ใช้งบประมาณและเวลามาก ผู้อ่านต้องอ่านอย่างวิเคราะห์และอย่างมี วิจารณญาณ

วิธีดำเนินการ การเขียนรายงาน การออกแบบ การดำเนินงานภาคสนาม

การออกแบบ การออกแบบ การกำหนดประเด็นคำถามวิจัย - กำหนดคำถามหลัก กำหนดคำถามย่อย คัดเลือกคำถาม ปรับปรุงแก้ไขคำถาม - สังเกตแบบมีส่วนร่วม สัมภาษณ์แบบเจาะลึก ทบทวนเอกสาร หลักฐานร่องรอย วิเคราะห์ค้นหาข้อสรุปและตีความหมาย ตรวจสอบข้อมูลจากหลายแหล่งและหลายวิธี การเลือกวิธีเก็บ/วิเคราะห์/ตรวจสอบข้อมูล การกำหนดประเด็นคำถามวิจัย การออกแบบ การกำหนดขอบเขตและการเลือกกรณีเฉพาะ การพิจารณาความเหมาะสมด้านจริยธรรม - ภัยอันตรายและการเสี่ยงภัย ความซื่อสัตย์และความไว้วางใจ ความลับและความรู้สึกเป็นส่วนตัว - กำหนดขอบเขตเป็น บุคคล กลุ่มบุคล โครงการ สถานการณ์ ชุมชน องค์กร ช่วงเวลา สถานที่ - เลือกตัวอย่าง

ตัวอย่างคำถามหลัก พฤติกรรมการทะเลาะวิวาทในกลุ่มนักเรียนวัยรุ่น อะไรเกิดขึ้นจากเหตุการณ์ทะเลาะวิวาทของนักเรียนวัยรุ่น พฤติกรรมการทะเลาะวิวาทในกลุ่มนักเรียนวัยรุ่น เหตุการณ์ทะเลาะวิวาทที่เกิดขึ้นมีความหมายต่อผู้เกี่ยวข้องอย่างไร เหตุการณ์ทะเลาะวิวาทในกลุ่มนักเรียนวัยรุ่นเกิดขึ้นได้อย่างไร

ตัวอย่างคำถามหลัก/คำถามย่อย ผลจากการทะเลาะวิวาทคืออะไร อะไรเกิดขึ้นจากเหตุการณ์ทะเลาะวิวาทของนักเรียนวัยรุ่น นักเรียนที่เข้าร่วมในเหตุการณ์ทะเลาะวิวาทคือใคร มีบุคลิกลักษณะอย่างไร และเข้าร่วมเหตุการณ์ได้อย่างไร

เหตุการณ์ทะเลาะวิวาทที่เกิดขึ้นมีความหมายต่อผู้เกี่ยวข้องอย่างไร ตัวอย่างคำถามหลัก/คำถามย่อย เหตุการณ์ทะเลาะวิวาทที่เกิดขึ้นมีความหมายต่อผู้เกี่ยวข้องอย่างไร ผู้บริหารโรงเรียน ครู/ตำรวจ/ผู้ปกครอง และนักเรียนวัยรุ่นมีเจตคติต่อเหตุการณ์นี้อย่างไร เหตุการณ์ทะเลาะวิวาทมีความหมายอะไรบ้างกับนักเรียนวัยรุ่นในกลุ่มผู้แพ้และผู้ชนะ

ตัวอย่างคำถามหลัก/คำถามย่อย มีปัจจัยภายในตัวนักเรียนอะไรบ้างที่เกี่ยวพันกับพฤติกรรมทะเลาะวิวาทในกลุ่มนักเรียนวัยรุ่น เหตุการณ์ทะเลาะวิวาทในกลุ่มนักเรียนวัยรุ่นเกิดขึ้นได้อย่างไร มีปัจจัยสิ่งแวดล้อมอะไรบ้างที่เกี่ยวพันกับพฤติกรรมทะเลาะวิวาทในกลุ่มนักเรียนวัยรุ่น

การดำเนินงานภาคสนาม การถอนตัวออกจากสถานที่ทำการศึกษา ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้าพร้อมด้วยเหตุผล เพื่อให้เกิดปรับความรู้สึกที่ดีต่อกัน การเข้าหาแหล่งข้อมูลหลักฐาน เป็นการแสดงตัวและสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับบุคคลที่เข้าร่วมในการวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และตรวจสอบความถูกต้อง/เชื่อถือได้ และ ความจริงแท้ของข้อมูล ดำเนินการอย่างค่อยเป็นค่อยไป ไม่เข้มงวดรัดกุมหรือเป็นทางการมากเกินไป

การเขียนรายงาน บทนำ บทส่งท้าย การสร้างและพัฒนาประเด็นคำถาม การแสดงรายละเอียดข้อมูล เอกสาร รายละเอียดเกี่ยวกับกรณีศึกษา บทนำ ประเด็นปัญหา จุดมุ่งหมาย และระเบียบวิธีวิจัย การสร้างและพัฒนาประเด็นคำถาม การแสดงข้อความสรุปและยืนยัน บทส่งท้าย

คุณภาพของรายงานการวิจัย อ่านเข้าได้ง่าย เนื้อหาแต่ละส่วนสอดคล้องกัน มีกรอบแนวคิดเชิงทฤษฎีรองรับ ประเด็นปัญหาและคำถามเป็นไปตามหลักวิชาการ กรณีที่ศึกษาและบริบทมีการนิยามอย่างชัดเจน นำเสนอเนื้อหาสาระอย่างน่าสนใจและเห็นภาพพจน์ ยกคำพูดของผู้ให้ข้อมูลสำคัญมานำเสนออย่างเหมาะสม เขียนหัวข้อ แสดงภาพ ประกอบรายงานอย่างถูกต้องเหมาะสม ข้อสรุปของการตีความข้อมูลมีความสมเหตุสมผลตามหลักฐาน แสดงข้อมูลดิบอย่างเพียงพอ คัดเลือกแหล่งข้อมูลและหลักฐานอย่างเพียงพอ แสดงการตรวจสอบข้อมูล หลักฐาน และแหล่งข้อมูล อย่างถูกต้อง และน่าเชื่อถือ

Thank you! Contact Address: Sompong Punturat Tel: 081 872 9558 Email: sompo_pu@kku.ac.t home.kku.ac.th/sompo_pu/spweb