โดย ณรงค์ชัย อัครเศรณี, Ph.D.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แผนนำทางส่งออกไทย: โอกาสใหม่ในความท้าทาย
Advertisements

สถาบันคุ้มครองเงินฝาก 21 สิงหาคม 2551
การค้าและการเงิน ระหว่างประเทศของไทย (ต่อ)
โลกาภิวัตน์ การค้าเสรี และการจ้างงานหญิงชาย
กระชุ่มกระชวย ( ) ทศวรรษแห่งการเติบโตสูงสุด :
นโยบายการเปิดเสรีทางการเงินโลก
บทที่ 7 ตลาดการเงินและสถาบันการเงิน
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย
วิกฤติเศรษฐกิจ ส่งผลกระทบอย่างไร. วิกฤติเศรษฐกิจ ส่งผลกระทบอย่างไร.
ภาพรวมการลงทุน ของ กบข.
การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ AEC มุมมองภาครัฐ ( )
การบูรณาการของนโยบายการคลัง ( )
กระแสโลกาภิวัตน์กับบทบาทด้านการคลัง (9-1-55)
การออม-การลงทุน และแนวทาง การพัฒนาตลาดทุนของไทย
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
Revision Problems.
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
ชื่อ นางสาว สุนิสา แก้วจารนัย
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ภาพรวมการลงทุน ของ กบข.
สภาพแวดล้อมปัจจุบัน โลกยุคโลกาภิวัตน์ สังคม เศรษฐกิจ
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ
บทที่ 5 การจัดหาเงินทุนระยะสั้นและระยะปานกลาง Short- Term and Intermediate-Term Financing.
เศรษฐกิจสร้างสรรค์บนฐานวัฒนธรรม
ตัวอย่าง นวัตกรรมทางการพยาบาล
ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
กลุ่มที่ 1 การส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์ข้อ 1
1 ประกาศเรื่อง การลงทุนและ การมีไว้เพื่อเป็นทรัพย์สินของ กองทุน.
เกณฑ์ Benchmark ใหม่ ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
ความสำคัญของการออม เพื่อเกษียณอายุ
1 ความเปลี่ยนแปลง ในภาคการเงินและในการ อภิบาลบริษัท ดร. อัมมาร สยามวาลา 9 ธันวาคม 2549.
ยุทธศาสตร์กรมสรรพสามิต
การพัฒนาระบบการออมเพื่อเกษียณอายุ
Good Corporate Governance
บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
Strategy Plan  ออม  การลงทุน  แก้ความจน ช่วยสังคม  เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย กำไร ความเข้มแข็ง ความ มั่นคง ทางการเงิน อย่างสมดุล / ยั่งยืนต่อเนื่อง ความเข้มแข็ง.
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
รัฐวิสาหกิจไทย: อดีต ปัจจุบัน และอนาคต
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
1 รายงานสถานะกองทุน และผลการดำเนินงาน กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว.
ไทยได้ประโยชน์อะไร จากการเปิดเสรีอาเซียน-จีน
ด้านสัญญาณ เตือน คำอธิบาย ด้านการผลิต ภาคการเกษตร สาขา การเกษตร ขยายตัว พิจารณาจากมูลค่า ผลผลิตรวมด้านการเกษตรเพิ่มขึ้น จากปีก่อนร้อยละ สาขาปศุ
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
การค้าการเงินโลกยุคใหม่ AEC และเศรษฐกิจประเทศไทย
เคลื่อนทัพส่งออก : มุมมองใหม่ โดย ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี
การบริหารเศรษฐกิจ ภาคการผลิต การค้า และการลงทุน โดย ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง วันพฤหัสบดีที่ 20 ธันวาคม.
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง
บทที่ 8 นโยบายการค้าระหว่างประเทศ
ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย ภายใต้วิกฤติการเมือง
อนาคตเศรษฐกิจประเทศไทย
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
มาตรฐานสากลของระบบคุ้มครองเงินฝาก
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
แหล่งที่มาและการใช้ไปของเงินทุนในสหกรณ์ เครดิตยูเนี่ยน
ถอดบทเรียน ยุทธศาสตร์การค้าอาเซียน
อนาคตเศรษฐกิจไทย ก้าวไกลสู่ตลาดทุน
 กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่าง กว้างขวางทำให้เกิดการติดต่อด้านเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ สร้างตลาดการค้า การ แข่งขัน การส่งออก การบริการ การลงทุนและ.
มติ คปก. 3/2549 วันที่ 29 กันยายน 2549
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย ณรงค์ชัย อัครเศรณี, Ph.D. 10 ปี หลังวิกฤติเศรษฐกิจไทย : ปฏิรูปและความพร้อมเพื่อ การพัฒนาที่ยั่งยืน โดย ณรงค์ชัย อัครเศรณี, Ph.D. TDRI Year – end Conference, 9-10 ธันวาคม 2549

10 ปี หลังวิกฤติเศรษฐกิจไทย : ปฏิรูปและความพร้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน เงื่อนไขสำคัญของการพัฒนาที่ยั่งยืน สาเหตุหลักของวิกฤติเศรษฐกิจ 1997 การปฏิรูประบบเศรษฐกิจ 1998-2006 ความพร้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

เงื่อนไขสำคัญของการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ยั่งยืน มีการออมมากพอ และมีการลงทุนที่เป็นประโยชน์ในระยะยาว (Solow : Balanced Growth) เศรษฐกิจขยายตัวเท่ากับอัตราดอกเบี้ยที่สนับสนุนการออมและการลงทุนระยะยาว (Phelps : Golden Rule) การลงทุนต้องเพิ่มประสิทธิภาพของทุน (Schumpeter, Arrow, Romer) ต้องลงทุนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของแรงงาน (Lucas) ต้องมี R+D เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการลงทุน (Romer, Grossman+Helpman, etc.)

สาเหตุหลักของวิกฤติเศรษฐกิจ การออมต่ำกว่าการลงทุนต่อเนื่อง ปี 1990-1996 Source : National Economic and Social Development Board : NESDB

2. สาเหตุหลักของวิกฤติเศรษฐกิจ (ต่อ) การลงทุนส่วนสำคัญมาจากเงินต่างประเทศ Source : BOT

สาเหตุหลักของวิกฤติเศรษฐกิจ (ต่อ) มีการนำทุนต่างประเทศเข้ามามาก เพราะสะดวก (BIBF) ต้นทุน (อัตราแลกเปลี่ยน+ดอกเบี้ย) ต่ำกว่าเงินทุนในประเทศไทย Source : CEIC and BOT เป็นการลงทุนเกินขนาด (โรงกลั่น, เปโตรเคมี, เหล็ก, โทรคมนาคม, อสังหาริมทรัพย์)

สาเหตุหลักของวิกฤติเศรษฐกิจ (ต่อ) เป็นการลงทุนเพื่อทำกำไรระยะสั้น – ปานกลางมากกว่าเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระยะยาว Component Total Economy 1977-2004 1977-1996 1999-2004 Real Output Growth 6.0 7.7 5.0   Contribution of: Labor 1.8 2.0 1.9 - Employment 1.4 1.6 - Quality 0.4 0.3 Capital 3.1 4.0 0.9 Land 0.0 TFP 1.0 2.1 Source : Bosworth (2006)

สาเหตุหลักของวิกฤติเศรษฐกิจ (ต่อ) มีหนี้ต่างประเทศสูงมาก และส่วนมากเป็นหนี้ระยะสั้นของเอกชน Source : BOT

สาเหตุหลักของวิกฤติเศรษฐกิจ (ต่อ) ปัญหาเศรษฐกิจ + การเมืองในปี 1996-1997 ทำให้ทุนต่างประเทศออกรวดเร็ว Source : BOT

การปฏิรูประบบเศรษฐกิจ 1998-2006 (เฉพาะที่เกี่ยวกับการออม + การลงทุน) ตลาดการเงิน – ภาคธนาคาร / การเงิน ระบบบริหารอัตราแลกเปลี่ยนยืดหยุ่น ตั้งแต่ ก.ค. 1997 บริหารนโยบายการเงินโดย Inflation Targeting ระบบธนาคารบริหารความเสี่ยงดีขึ้น ให้มีธนาคารต่างชาติมาแข่งขันจำนวนหนึ่ง เพิ่มใบอนุญาตประกอบกิจการธนาคาร

การปฏิรูประบบเศรษฐกิจ 1998-2006 ฯ (ต่อ) การปฏิรูประบบเศรษฐกิจ 1998-2006 ฯ (ต่อ) ปรับเกณฑ์การตรวจสอบตั้งแต่ 2001-2002 ผลประโยชน์ทับซ้อน ผู้สอบบัญชี การตรวจสอบภายใน การเปิดเผยข้อมูล เกณฑ์การเป็นกรรมการ มีการใช้ระบบ Credit Bureau

การปฏิรูประบบเศรษฐกิจ 1998-2006 ฯ (ต่อ) ตลาดทุน การใช้ Accredited Valuer การใช้ระบบมาตรฐานบัญชีสากล ปรับปรุงระบบ Governance มีกรรมการตรวจสอบอิสระ 1998 แนวทางการปฏิบัติงานของกรรมการ (1998,2005) จัดตั้ง IOD และกำหนดให้กรรมการเข้าโครงการ IOD โครงการจัดอันดับการกำกับดูแลกิจการที่ดี

การปฏิรูประบบเศรษฐกิจ 1998-2006 ฯ (ต่อ) การเพิ่ม securities products ให้หลากหลาย Mutual fund Property fund Private fund Derivatives การให้ใบอนุญาตตามขนาดของทุน (2007) ตลาดเงิน / ตลาดทุน มีระบบบริหารความเสี่ยง สำหรับทุก parties ดีขึ้นมาก

การปฏิรูประบบเศรษฐกิจ 1998-2006 ฯ (ต่อ) ภาคสินค้า / ภาคบริการ ภาคสินค้า/อุตสาหกรรมการผลิต การคุ้มครองจากระบบภาษีศุลกากรและการส่งเสริม การลงทุนลดลงและเท่าเทียมมากขึ้น อัตราภาษีศุลกากรต่ำลงเป็น 4 อัตรา สำหรับสินค้า ส่วนมาก (0%, 1%, 5%, 10%) อัตราภาษีศุลกากรเฉลี่ย 1999, 17% 2005, 11.5%

การปฏิรูประบบเศรษฐกิจ 1998-2006 ฯ (ต่อ) มีการทำ FTA กับ ASEAN นิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย จีน อินเดีย ฯลฯ ลดการคุ้มครองจากภาษีศุลกากรลงอีก

การปฏิรูประบบเศรษฐกิจ 1998-2006 ฯ (ต่อ) การปฏิรูประบบเศรษฐกิจ 1998-2006 ฯ (ต่อ) การลงทุน ให้ต่างชาติลงทุนและต่างด้าวประกอบธุรกิจมากขึ้น การค้า พ.ร.บ. การแข่งขันทางการค้า (1999) เพิ่มการแข่งขัน (แต่ยังไม่มีผลมากนัก) ระบบการแข่งขันช่วยลดความเสี่ยงทางธุรกิจ

4. ความพร้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ผลการปฏิรูปเบื้องต้น (1998-2005) การออมสูงกว่า การลงทุนต่อเนื่อง Source : National Economic and Social Development Board : NESDB

ความพร้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (ต่อ) โครงสร้างหนี้ต่างประเทศ มีหนี้เอกชนลดลง และ เป็นหนี้ระยะยาวมากขึ้น Source : BOT

ความพร้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (ต่อ) มาตรการส่งเสริมการออมยังต้องพัฒนาต่อเนื่อง จัดตั้งสถาบันประกันเงินฝาก จัดระบบกำกับสถาบันการเงินให้ชัดเจน (องค์กรกำกับ?/องค์กรนโยบาย?) เพิ่มการแข่งขันและการกำกับการบริหารความเสี่ยงตามมาตรฐานสากล เพิ่มการออมในระบบประกันสังคม/กองทุนสำรองเลี้ยงชีพให้ทั่วถึง (เกณฑ์การออมและวิธีการบริหารกองทุน)

ความพร้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (ต่อ) การพัฒนาตลาดทุนต้องทำให้ไปสู่มาตรฐานสากล ประเภท + จำนวน securities products ระบบการอนุญาตการออกหลักทรัพย์และการกำกับ ฯลฯ สถาบันการเงิน เฉพาะกิจของรัฐยังมีบทบาทจำกัด

ความพร้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (ต่อ) ระบบการแข่งขันทางการค้า (Competition Regime) ยังต้องพัฒนาต่อ โดยไม่ให้อำนาจทางการค้ากระจุกตัว ต้องสร้างระบบให้ธุรกิจมีความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility – CSR) รัฐต้องมีการออมและการลงทุนเพื่อรักษา และพัฒนาสภาพแวดล้อม สังคม/ประชาชน ต้องลงทุนในการศึกษาสาธารณสุข และสิ่งแวดล้อม Growth Theory + Sufficiency Economy