ดร.อัศนีย์ รัตนมาลัย โดย อดีต : ผู้อำนวยการสถาบันยุทธศาสตร์การค้า ดร.อัศนีย์ รัตนมาลัย อดีต : ผู้อำนวยการสถาบันยุทธศาสตร์การค้า ปัจจุบัน : 1. ที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญองค์การสหกรณ์ สากลสำนักงานภูมิภาคเอเชียแปซิฟิค (ICA/ROAP) ประจำสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 2. ผู้อำนวยการฝ่ายไทยโรงเรียนนานาชาติฮาร์โรว์
นโยบายเขตการค้าเสรีขององค์การค้าโลก ประเทศไทยได้หรือเสีย ?
ข้อตกลงทางการค้าในภูมิภาค (Regional Trade Agreements) มีมากกว่า 200 ข้อตกลง พิจารณาโดย GATT (องค์การการค้าโลก) ปัจจุบันมีผลบังคับใช้กว่า 150 ข้อตกลง ครอบคลุมเรื่องการค้าหรือบริการ ตัวอย่างของข้อตกลงเช่น 1. สมาคมการค้าเสรีแห่งสหภาพยุโรป (The European Free Trade Association) 2. ข้อตกลงว่าด้วยการค้าเสรีแห่งอเมริกาเหนือ (The North America Free Trade Agreement:NAFTA)
การรวมตัวกันในทางเศรษฐกิจ มี 4 ระดับ 3.สมาคมเขตการค้าเสรีแห่งอาเซียน (The Association of Southeast Asian Nation (ASEAN) Free Trade Area (AFTA) 4.ตลาดร่วมแห่งแอฟริกาภาคตะวันออกและภาคใต้ (The Common Market of Eastern and Southern Africa : COMESA) การรวมตัวกันในทางเศรษฐกิจ มี 4 ระดับ 1. เขตการค้าเสรี (Free Trade Area) คือ ยกเว้นการเก็บภาษีศุลกากรระหว่างกัน 2. สหภาพศุลกากร (Custome Union) คือ กำหนดอัตราภาษีศุลกากรที่เท่ากัน 3. ตลาดร่วม (Common Market) คือสามารถเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิตระหว่างกันได้ 4. สหภาพเศรษฐกิจ (Economic Union) คือ การร่วมตัวที่แนบแน่น โดยใช้นโยบายการเงินและการคลังร่วมกัน
การเตรียมการเพื่อการเปิดการค้าเสรี ข้อดีของการค้าเสรี 1. ช่วยให้การเงินและเศรษฐกิจของประเทศดีขึ้น 2. ยกระดับความเป็นอยู่ของประชากรในประเทศ 3. ก่อให้เกิดการจ้างงานและประเทศมีการพัฒนา การเตรียมการเพื่อการเปิดการค้าเสรี 1. มีโครงข่ายทางสังคมที่มีประสิทธิภาพ 2. มีเศรษฐกิจพื้นฐานจากการพัฒนาความรู้ (Knowledge-based Economy) 3. มีการแลกเปลี่ยนความรู้ และพัฒนาด้านเทคโนโลยีระหว่างกัน 4. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 5. การสนับสนุนวิสาหกิจขนาดเล็กและขนาดย่อม
ประเด็นสำคัญที่ทุกประเทศต้องนำมาพิจารณาในการทำการค้าเสรี คือ ระบบนิเวศวิทยา การผลิตต้องไม่ทำลายระบบนิเวศวิทยา เช่น ระบบนิเวศวิทยาชายฝั่ง ทางทะเล ป่าไม้ ทรัพยากรทางน้ำ ภูมิอากาศ การใช้สารเคมี การบริหารแบบธรรมาภิบาล