การปฏิรูป (ประเทศไทย) จะไม่สำเร็จด้วยดี ถ้า ....

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการสนับสนุน รพสต.
Advertisements

การขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ด้วยการวิจัย
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
บูรณาการสู่ความสำเร็จ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
โครงการส่งเสริมการออมภาคครัวเรือนเกษตรกร ด้วยเศรษฐกิจพอเพียง
ที่ว่าการอำเภอปะนาเระ
บทบาทของชุมชนต่อโรงเรียน
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
ความหมายและกระบวนการ
สวัสดีครับ.
การมอบหมายภารกิจผู้นำชุมชน หลังเสร็จสิ้นการฝึกอบรม
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
Strategy Plan  ออม  การลงทุน  แก้ความจน ช่วยสังคม  เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย กำไร ความเข้มแข็ง ความ มั่นคง ทางการเงิน อย่างสมดุล / ยั่งยืนต่อเนื่อง ความเข้มแข็ง.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
การพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
วาระที่ 3.5 การขอสนับสนุนงบประมาณ จากกองทุนสิ่งแวดล้อม
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
การสร้างแผนงาน/โครงการ
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
สรุปการประชุม เขต 10.
นพ.สมชาย เชื้อเพชรโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 13
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
คำรับรองการปฏิบัติ ราชการ กรมอนามัย ปี 2549 จำนวน 20 ตัวชี้วัด.
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
สังคม โครงสร้างทางสังคม หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่าง กลุ่มคน จำนวนหนึ่ง ซึ่งมีแบบแผนในการปฏิบัติร่วมกัน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายเดียวกัน กลุ่มคน หมายถึง.
SPATIAL PLANING : SGA-PEI รศ. ดร
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”. “ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
เทศบาลตำบลบัลลังก์ จดหมายข่าว ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
คำแนะนำสำหรับกระทรวง สาธารณสุข  จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบ สุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การ กำหนดค่ากลางของ ความสำเร็จของโครงการ สุขภาพระดับเขต เพื่อส่ง มอบให้จังหวัดนำเข้าสู่
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
เสวนาพาเพลิน อปท. กับ รางวัลพระปกเกล้า
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
จังหวัดนราธิวาส โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC
ระบบสุขภาพชุมชน : คุณค่า และความดีงาม ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๖ มหกรรมกองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับท้องถิ่น.
การจัดทำแผนชุมชน.
แนวคิดและหลักการส่งเสริมการตรวจสุขภาพ รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
การขับเคลื่อนวาระแห่งชาติด้าน การสหกรณ์ จังหวัดสุรินทร์ วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมทองธารินทร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การปฏิรูป (ประเทศไทย) จะไม่สำเร็จด้วยดี ถ้า .... จะไม่สำเร็จด้วยดี ถ้า .... โดย ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม ประธานกรรมการ มูลนิธิหัวใจอาสา

หลักการสำคัญในการพัฒนาท้องถิ่น 1. พื้นที่เป็นตัวตั้ง 2. ประชาชน/ชุมชน/องค์กรชุมชน มีบทบาทสำคัญ 3. ชุมชน (ขบวนองค์กรชุมชน) - ท้องถิ่น (อปท.) - ท้องที่ (กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน) ร่วมมือกัน 4. หน่วยงาน/องค์กรภายนอก (จากภาครัฐ ภาคธุรกิจ ภาคประชาสังคม มหาวิทยาลัย สถาบันศาสนา ฯลฯ) เป็นฝ่ายสนับสนุน

ลักษณะความสัมพันธ์ในการพัฒนาท้องถิ่น สังคม รัฐบาล ฝ่ายสนับสนุน ศาล ชุมชน หน่วยงานภาครัฐ ประชาสังคม รัฐสภา ท้องที่ ธุรกิจ ท้องถิ่น มหา วิทยาลัย องค์กรอิสระ (ตาม รธน.) สถาบันศาสนา ฯลฯ ประเทศ

วงจรการพัฒนาท้องถิ่นที่ยั่งยืน เป้าหมายรูปธรรม มีตัวชี้วัด เรียนรู้ ปรับปรุงพัฒนา วิธีการเหมาะสม ลงมือปฏิบัติ วัดผล ประเมินผล

เป้าหมาย ตัวชี้วัด วิธีได้ตัวชี้วัด วิธีบรรลุเป้าหมาย (ที่สำคัญ) 1. คนในตำบลมีสุขภาพแข็งแรง 1. จำนวนผู้ป่วยในตำบลลดลง(โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ไข้เลือดออก) สถิติผู้ป่วยรายเดือนจากสถานีอนามัยและโรงพยาบาลโพธาราม ………...

เป้าหมาย ตัวชี้วัด วิธีได้ตัวชี้วัด วิธีบรรลุเป้าหมาย (ที่สำคัญ) 3. คนในตำบลมีรายได้และชีวิตที่มั่นคง 3. การออมในชุมชนเพิ่มขึ้น 4. หนี้ที่เป็นปัญหาลดลง 5. จำนวนครอบครัวที่ตกเกณฑ์ จปฐ. ไม่มี/หรือลดลง ที่เกินเกณฑ์มีเพิ่มมากขึ้น 1. สถิติการเงินจากทุกกลุ่มกองทุนในชุมชนทั้งข้อมูลสมาชิกที่มีการออมเงินในกองทุนชุมชนและจำนวนเงินออมต่อครัวเรือนในกองทุนชุมชน 2. ข้อมูล จปฐ. ของชุมชน ………..

การปฏิรูป (ประเทศไทย) การปฏิรูป (ประเทศไทย) จะไม่สำเร็จด้วยดี ถ้า .......

โดยเฉพาะประชาชนฐานราก และ ไม่ เป็นแกนหลักในการปฏิรูป 1. ประชาชน โดยเฉพาะประชาชนฐานราก ไม่ มีบทบาทสำคัญ และ ไม่ เป็นแกนหลักในการปฏิรูป

2. ทุกภาคส่วน รวมถึง ประชาชน ภาคประชาสังคม ภาควิชาการ ภาคธุรกิจ ภาครัฐ รวมถึง ประชาชน ภาคประชาสังคม ภาควิชาการ ภาคธุรกิจ ภาครัฐ ไม่ ร่วมมือรวมพลังสร้างสรรค์ ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมติดตามประเมินผล ร่วมเรียนรู้และปรับปรุงพัฒนาหรืออภิวัฒน์ อย่างต่อเนื่อง

3. ไม่ มี “เสาหลัก” หรือหลักการสำคัญ หรือเป้าหมายสำคัญ 3. ไม่ มี “เสาหลัก” หรือหลักการสำคัญ หรือเป้าหมายสำคัญ 3 ประการ ในการปฏิรูป ได้แก่ (1) ความดี (คุณธรรม) (2) ความสามารถ (3) ความสุข (สุขภาวะ) ที่ดีพอ มากพอ และได้สมดุลกัน

4. ไม่ มีการใช้ ข้อมูล ความรู้ วิจารณญาณ ปัญญา ที่ดีพอ ในการดำเนินการ และหรือเสนอแนะ การปฏิรูป

5. ไม่ มีการสื่อสารหลากหลายรูปแบบ ที่ดีพอ เพื่อให้เกิดการรับรู้ ความเข้าใจ แรงจูงใจ แรงบรรดาลใจ ฯลฯ ในหมู่ประชาชนและสังคมโดยรวม จนสามารถนำประชาชน เข้ามามีบทบาทในการปฏิรูป อย่างสมัครใจและเต็มใจ

6. ไม่ มีการรวมตัว ร่วมคิด ร่วมทำ ในพื้นที่ต่างๆ ตามประเด็นต่างๆ อย่างเป็นขบวนการ และเป็นเครือข่ายเพื่อการปฏิรูป ที่ดำเนินงานอย่างจริงจัง มุ่งมั่น พากเพียร อดทน เสียสละ ฯลฯ อย่างต่อเนื่อง

7. ไม่ มีการจัดการที่มีคุณภาพ มีศิลปะ มีประสิทธิภาพ ที่ดีพอ ในทุกพื้นที่ ทุกองค์กร ทุกเรื่อง และทุกระดับ รวมถึงระดับชาติ

8. ไม่ มีการสนับสนุนร่วมมือเชิงนโยบายและงบประมาณ รวมถึงการมีนโยบาย แผนงาน โครงการ กฎหมาย กฎกระทรวง ข้อบังคับ ระเบียบ ข้อบัญญัติ (ท้องถิ่น) ฯลฯ ที่เหมาะสม โดยสถาบันหรือองค์กรในภาครัฐ รวมถึง สถาบันนิติบัญญัติ สถาบันตุลาการ ฝ่ายบริหาร/รัฐบาล/คณะรัฐมนตรี กระทรวง/กรม/กอง หน่วยงานภาครัฐอื่นๆ (องค์กรอิสระฯ องค์การมหาชน ฯลฯ) และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกรูปแบบ

ถ้าจะปฏิรูป (ประเทศไทย) ให้สำเร็จด้วยดี จึงต้องใช้ ดังนั้น....... ถ้าจะปฏิรูป (ประเทศไทย) ให้สำเร็จด้วยดี จึงต้องใช้ “มรรค 8 /บัญญัติ 8 ประการ ในการปฏิรูป (ประเทศไทย)” ซึ่งได้แก่การ ตัดคำว่า “ไม่” ออกจากทุกข้อ ที่กล่าวข้างต้น