ประเทศไทยได้ประโยชน์และเสียประโยชน์อะไรจาก (AFTA)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แผนนำทางส่งออกไทย: โอกาสใหม่ในความท้าทาย
Advertisements

การวางแผนกำหนดกลยุทธ์ทางการตลาด
โลกาภิวัตน์ การค้าเสรี และการจ้างงานหญิงชาย
กระชุ่มกระชวย ( ) ทศวรรษแห่งการเติบโตสูงสุด :
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ AEC มุมมองภาครัฐ ( )
รายงานสรุปผลการประชุมระหว่างทูต CEO กับผู้ว่าฯ CEO
ยุทธศาสตร์การนำเข้า การค้าระหว่างประเทศมีมูลค่ากว่าร้อยละ 55 ของ GDP
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ต้นทุน(บาท/กิโลกรัม)
วิกฤต-โอกาส กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
Vietnam.
Digital Engineering for Product Design, Development & Manufacturing รศ
ชื่อ กนกภรณ์ นามสกุล บุญทรง รหัสนักศึกษา ชั้นปีที่ 2 ภาควิชา พัฒนาการเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
ชื่อ นางสาว สุนิสา แก้วจารนัย
นางสาว จริยา อุทุมพร รหัสนักศึกษา
Free Trade Area Bilateral Agreement
ความเป็นมาของไทยกับ AFTA
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ
บรรยาย เรื่อง AEC Asean Economic Community
บทบาทของกรมประมง ในการเป็นประชาคมอาเซียน
ดร. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
การเตรียมการและการกำหนดท่าทีในการเจรจาต่อรองในระดับสากล
ยุทธศาสตร์ของไทยต่อการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคและทวิภาคี
FTA และผลกระทบต่อภาษีสรรพสามิต
อุตสาหกรรมเด่นของไทย มูลค่าส่งออก (ล้านบาท)
กรอบความร่วมมือด้านผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูป
ปฏิญญาการศึกษา: รากฐานประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
ยุทธศาสตร์การค้าสินค้าเกษตรอินทรีย์ของกระทรวงพาณิชย์
ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น
การพัฒนาอุตสาหกรรม ที่ “ยั่งยืน”. การพัฒนาอุตสาหกรรม ที่ “ยั่งยืน”
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
มูลค่าการส่งออก-นำเข้าสินค้าไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ ปี
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
การสัมมนา เรื่อง เอฟทีเอ : ไทยได้ประโยชน์แค่ไหน โดย ปลัดกระทรวงพาณิชย์ (นายการุณ กิตติสถาพร) ณ ห้องจามจุรี โรงแรมปทุมวันพริ้นซ์เซส วันพุธที่ 25 สิงหาคม.
ไทยได้ประโยชน์อะไร จากการเปิดเสรีอาเซียน-จีน
เขตการค้าเสรี ไทย-อินเดีย
ด้านสัญญาณ เตือน คำอธิบาย ด้านการผลิต ภาคการเกษตร สาขา การเกษตร ขยายตัว พิจารณาจากมูลค่า ผลผลิตรวมด้านการเกษตรเพิ่มขึ้น จากปีก่อนร้อยละ สาขาปศุ
น.สพ.ไพรัช ธิติศักดิ์ 27 มกราคม 2553
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
ภาควิชาพัฒนาการเกษตร
สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง กุมภาพันธ์ 2549
แนวทางรองรับผลจาก ASEAN-CER (ASEAN-Australia-New Zealand FTA)
เคลื่อนทัพส่งออก : มุมมองใหม่ โดย ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี
บทที่ 8 นโยบายการค้าระหว่างประเทศ
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC
โดย...นายประเสริฐ ดอยลอม หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
“AEC : อนาคต พืช ผัก ผลไม้ไทย”
เดือนเด่น นิคมบริรักษ์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
ทิศทางการพัฒนาการเกษตรไทย
ประเทศไทยจะผลิตชิ้นส่วนและอะไหล่ยานยนต์ที่มีคุณภาพ, มาตรฐาน เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ มีมูลค่าส่งออกมากกว่า 4 แสนล้านบาทต่อปี
กระบวนการทางเศรษฐกิจ
ปวสปี 4 รหัส หมวดวิชาชีพพื้นฐาน เรื่องการค้าระหว่างประเทศ
ธุรกิจประมงและอุตสาหกรรมต่อเนื่อง
การนำเสนอ หัวข้อ “ตอบโจทย์อุตสาหกรรมด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม มุ่งสู่ตลาดโลก” วันศุกร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ 2556 ณ ห้องแกรนด์บอลรูม โรงแรมรามาการ์เด้นส์
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
การเปรียบเทียบสินค้าส่งออก ของไทยกับกลุ่มประเทศอาเซียน
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
ความร่วมมือไทย-ลาว ในเรื่อง Contract Farming (CF)
ด. ช. อติชาต ปันเต ม.1/12 เลขที่ 4 ด. ช. ณปภัช เรือนมูล ม.1/12 เลขที่ 5.
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
ความสำคัญและประโยชน์ ของการวิจัยการตลาด
เรื่องที่นักส่งเสริมการเกษตรควรรู้
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง
ครูจงกล กลาง ชล 1. 2 รู้และเข้าใจ เกี่ยวกับกิจกรรม การผลิตที่ เกี่ยวข้องกับการ แลกเปลี่ยนหรือ ซื้อขาย.
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประเทศไทยได้ประโยชน์และเสียประโยชน์อะไรจาก (AFTA) 1. การค้าของประเทศไทยจะขยายตัวเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะการส่งออกสินค้า เช่น คอมพิวเตอร์ น้ำมันสำเร็จรูป เป็นต้น 2. ได้ดุลการค้ากับประเทศต่างๆในอาเซียนเพิ่มมากขึ้น 3. สินค้าส่งออกของไทยมีมูลค่าการส่งออกสูงขึ้น การจ้างงานเพิ่มขึ้น 4. สินค้าเกษตรกรรม เช่น กุ้งสดแช่แข็ง สินค้าเกษตรแปรูป เช่น อาหารทะเลกระป๋อง สินค้าอุตสาหกรรม เช่น กระดาษ

5. สินค้านำเข้ามีราคาถูกจากอัตราภาษี 6. ผู้บริโภคภายในประเทศได้บริโภคสินค้าราคาถูก 7. ประเทศไทยจะกลายเป็นแหล่งดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ เพราะอาเซียนกลายเป็นตลาดการค้าเสรีขนาดใหญ่ 8. การผลักดันในเรื่องของการกีดกันทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษี (NTBs) จะทำการนำเข้าและค้าขายเพิ่มมากขึ้นกับตลาดอาเซียนและตลาดโลก

สรุป ประเทศไทยควรกำหนดยุทศาสตร์ให้ชัดเจนเพื่อความอยู่รอดของประเทศ ดังนี้ 1. ปรับปรุงและพัฒนาด้านการวิจัย 2. พัฒนาและปรับปรุงช่องทางด้านการตลาดให้สามารถแข่งขันได้ 3. พัฒนาอุตสาหกรรมที่ใช้ฐานการผลิตในไทย 4. การสร้างและปรับปรุงสิ่งอำนวยความสะดวกในการผลิต การขนส่ง และการตลาด 5. พัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตในประเทศเพื่อการส่งออก 6. ควรขยายฐานการผลิตไปสู่จีน เนื่องจากแรงงานถูก

7. ดำเนินการพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง 8. ไม่ควรพึ่งพิงตลาดจีน เกาหลีและญี่ปุ่น โดยขยายไปสู่ตลาดประเทศลุ่มน้ำโขง 9. มีการกำหนดยุทธศาสตร์การค้ากับจีน ญี่ปุ่นและเกาหลีให้ชัดเจน 10. รัฐบาลควรมีการจัดทำมาตรการต่างๆเพื่อรองรับกับข้อตกลงทางการค้าทุกกรอบของรัฐบาลที่ทำกับประเทศต่างๆ 11. ผู้นำและรัฐบาลไทยจะต้องมีข้อมูลทางวิชาการที่ชัดเจนและพร้อมในการเจรจา