จัดโดย APO ณ ประเทศปากีสถาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 1 การตลาดในศตวรรษที่ 21 อ.ปั้น จูฑศฤงค์.
Advertisements

ความสำคัญของการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี
วิกฤตเศรษฐกิจ และ ผลกระทบต่อแรงงาน
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
จากหิ้งสู่ห้าง การใช้ประโยชน์จากงานวิจัยพัฒนา
“นโยบายส่งเสริมงานวิจัยและ พัฒนาด้านวิทยาศาสตร์
นายบัณฑิตย์ ศรีพุทธางกูร สำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
กระแสโลกาภิวัตน์กับบทบาทด้านการคลัง (9-1-55)
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
กลยุทธ์และแผนงานโครงการ
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
ตลาดและการแข่งขัน.
Chapter 2 การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ
การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์
บรรยายองค์ความรู้เรื่อง AEC สมาคมอาเซียน
กรอบแนวคิด การพัฒนากองบริการการศึกษา.
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
มาตรการภาครัฐในการสนับสนุน การวิจัยและพัฒนา (R&D)
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
การพัฒนาทรัพยากรบุคคล แนวทางการพัฒนาพนักงาน
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
โครงการพัฒนาสติปัญญาเด็กไทย ปี 2551
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
การพัฒนาอุตสาหกรรม ที่ “ยั่งยืน”. การพัฒนาอุตสาหกรรม ที่ “ยั่งยืน”
IS กับ IT IS ต้องอาศัย IT
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
โครงการส่งเสริมการพัฒนาสหกิจศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
บทนำการบริหารโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ
SMEs SMALL MEDIUM ENTERPRIS ES วิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม ผู้ประกอบการ ในกิจการ อุตสาหกรรม ธุรกิจการเกษตร พาณิชยกรรม ธุรกิจบริการ.
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
รศ.ดร.วิโรจ อิ่มพิทักษ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ขั้นตอนการวิเคราะห์ การกำหนดโจทย์/ ประเด็นที่ต้องการทดสอบ – ต้องมีความชัดเจน การศึกษาข้อมูลเบื้องต้น การกำหนดกรอบการวิเคราะห์ การเลือกใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ประเทศไทยจะผลิตชิ้นส่วนและอะไหล่ยานยนต์ที่มีคุณภาพ, มาตรฐาน เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ มีมูลค่าส่งออกมากกว่า 4 แสนล้านบาทต่อปี
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
กลุ่มที่ 3 หัวหน้าฝ่าย / เจ้าหน้าที่
การกำหนดแผนงาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กังวาน ยอดวิศิษฎ์ศักดิ์
ระบบสารสนเทศทางการตลาดและความสำคัญ
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
Evaluation of Thailand Master Plan
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
ครูศรีวรรณ ปานสง่า การบริหาร จัดการ ทรัพยากร ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
บทบาทของข้อมูลการตลาด
หน่วยที่ 3 ประเภทแหล่งข้อมูลทางการตลาด
 กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่าง กว้างขวางทำให้เกิดการติดต่อด้านเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ สร้างตลาดการค้า การ แข่งขัน การส่งออก การบริการ การลงทุนและ.
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
หน้าที่ทางการตลาด Marketing Function
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งานเสวนา จัดโดยสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ “Building Value Creation For Driving SMEs Competitiveness” จัดโดยสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ 21 กันยายน 2548 เวลา 09.00 – 12.00 น. ณ ห้องจามจุรี ชั้น M โรงแรมปทุมวัน ปริ้นเซส Marketing Research

จัดโดย APO ณ ประเทศปากีสถาน ความร่วมมือเพื่อพัฒนาขีดความสามารถ ด้านเทคโนโลยีของ SMEs จาก Symposium on Strategic Alliances among SMEs through Technology Fusion จัดโดย APO ณ ประเทศปากีสถาน โดย.... บัวรัตน์ ศรีนิล ภาควิชาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Marketing Research

ประเด็นสำคัญ บทบาทและความสำคัญของ SMEs บทบาทและความสำคัญของเทคโนโลยี ประสบการณ์ของประเทศที่ประสบความสำเร็จ แนวทางการพัฒนาความร่วมมือในประเทศไทย

1. บทบาทและความสำคัญของ SMEs จำนวนของธุรกิจหรือผู้ประกอบการ มูลค่าการผลิต การจ้างงาน การสร้างมูลค่าเพิ่ม SMEs จึงส่งผลกระทบโดยตรงต่อระบบเศรษฐกิจและสังคม ของทุกประเทศ

2. บทบาทและความสำคัญของเทคโนโลยี 2. บทบาทและความสำคัญของเทคโนโลยี เป็นกลไกสำหรับความสำเร็จและความเข้มแข็งของ SMEs กระบวนการผลิต ระบบการบริหารงาน เพื่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการเผชิญกับ สภาพแวดล้อมภายนอก

2. บทบาทและความสำคัญของเทคโนโลยี 2. บทบาทและความสำคัญของเทคโนโลยี แรงกดดันจากสภาพแวดล้อมภายนอก กระแสโลกาภิวัตน์และภาวะการแข่งขัน ความต้องการและความคาดหวังของผู้บริโภค กฎเกณฑ์การค้าระหว่างประเทศ พัฒนาการที่รวดเร็วของเทคโนโลยี SMEs ต้องพัฒนา Competitive Advantages โดยใช้เทคโนโลยี ทำการผลิตสินค้าและบริการให้มีคุณภาพสูงขึ้นด้วยต้นทุน ที่ประหยัดกว่า รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารงาน

3. ความจำเป็นในการร่วมมือพัฒนาขีดความสามารถด้านเทคโนโลยี 3. ความจำเป็นในการร่วมมือพัฒนาขีดความสามารถด้านเทคโนโลยี แรงกดดันจากภายนอกรุนแรงมากขึ้น ตลอดเวลา SMEs มีขีดความสามารถจำกัด ด้านเทคโนโลยี ด้านเงินทุน ยากที่จะดำเนินการได้โดยลำพัง

4. ประสบการณ์ของประเทศที่ประสบความสำเร็จ 4. ประสบการณ์ของประเทศที่ประสบความสำเร็จ สินค้าและบริการที่ผลิตได้ต้องมีลักษณะ Market - Oriented เป็นความร่วมมือระหว่างกิจการขนาดใหญ่กับกิจการ ขนาดเล็ก โดยมีความไว้วางใจกัน (Trust) ส่วนใหญ่เป็นกิจการที่ทำการผลิต (Manufacturing Firms) มีค่าใช้จ่ายในการร่วมมือต่ำ (Low Transaction Costs)

4. ประสบการณ์ของประเทศที่ประสบความสำเร็จ 4. ประสบการณ์ของประเทศที่ประสบความสำเร็จ มีการส่งเสริมการพัฒนาเทคโนโลยีไปสู่ธุรกิจ (Commercialization) โดย Business Incubator นักประดิษฐ์ คิดค้น นักวิชาการ (อาจารย์และนักศึกษา) มีผลการดำเนินงานที่ชัดเจนภายใน 12 เดือน ระดับการศึกษา (+) และอายุ (-) ของผู้บริหารระดับสูงมีอิทธิพลต่อการร่วมมือ

ประโยชน์ของความร่วมมือ การประหยัดจาก Economies of Scale & Scope การเข้าถึงแหล่งทรัพยากรจากภายนอก การเข้าถึงแหล่งข้อมูล – ด้านเทคโนโลยี และการตลาด การแบ่งงานตามความถนัด (Specialization) การลดความเสี่ยง

5. แนวทางการพัฒนาความร่วมมือในประเทศไทย 5. แนวทางการพัฒนาความร่วมมือในประเทศไทย รูปแบบความร่วมมือตามปกติ Technical Assistance Agreement “Know – how” Agreement Joint Venture Subcontracting Licensing Franchising Sharing of Knowledge Sharing of Profit IP Commercial- ization Market & Customer oriented

5. แนวทางการพัฒนาความร่วมมือในประเทศไทย 5. แนวทางการพัฒนาความร่วมมือในประเทศไทย แนวทางการพัฒนาความร่วมมือ กรอบ : ความร่วมมือภายในประเทศ ระหว่างประเทศ ภายในภูมิภาค วิธีการ : พัฒนา Information Networks มี SMEs Database จัดการประชุม สัมมนา โดยเฉพาะ สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ ให้เงินสนับสนุน (Subsidies) สำหรับ SMEs สร้างกลไกความร่วมมือที่เข้มแข็ง

5. แนวทางการพัฒนาความร่วมมือในประเทศไทย 5. แนวทางการพัฒนาความร่วมมือในประเทศไทย แนวทางการพัฒนาความร่วมมือ ผู้มีส่วนร่วม : ภาครัฐ สมาคมหรือชมรมทางธุรกิจ SMEs สถาบันวิจัย / มหาวิทยาลัย

Q & A