งานเสวนา จัดโดยสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ “Building Value Creation For Driving SMEs Competitiveness” จัดโดยสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ 21 กันยายน 2548 เวลา 09.00 – 12.00 น. ณ ห้องจามจุรี ชั้น M โรงแรมปทุมวัน ปริ้นเซส Marketing Research
จัดโดย APO ณ ประเทศปากีสถาน ความร่วมมือเพื่อพัฒนาขีดความสามารถ ด้านเทคโนโลยีของ SMEs จาก Symposium on Strategic Alliances among SMEs through Technology Fusion จัดโดย APO ณ ประเทศปากีสถาน โดย.... บัวรัตน์ ศรีนิล ภาควิชาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Marketing Research
ประเด็นสำคัญ บทบาทและความสำคัญของ SMEs บทบาทและความสำคัญของเทคโนโลยี ประสบการณ์ของประเทศที่ประสบความสำเร็จ แนวทางการพัฒนาความร่วมมือในประเทศไทย
1. บทบาทและความสำคัญของ SMEs จำนวนของธุรกิจหรือผู้ประกอบการ มูลค่าการผลิต การจ้างงาน การสร้างมูลค่าเพิ่ม SMEs จึงส่งผลกระทบโดยตรงต่อระบบเศรษฐกิจและสังคม ของทุกประเทศ
2. บทบาทและความสำคัญของเทคโนโลยี 2. บทบาทและความสำคัญของเทคโนโลยี เป็นกลไกสำหรับความสำเร็จและความเข้มแข็งของ SMEs กระบวนการผลิต ระบบการบริหารงาน เพื่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการเผชิญกับ สภาพแวดล้อมภายนอก
2. บทบาทและความสำคัญของเทคโนโลยี 2. บทบาทและความสำคัญของเทคโนโลยี แรงกดดันจากสภาพแวดล้อมภายนอก กระแสโลกาภิวัตน์และภาวะการแข่งขัน ความต้องการและความคาดหวังของผู้บริโภค กฎเกณฑ์การค้าระหว่างประเทศ พัฒนาการที่รวดเร็วของเทคโนโลยี SMEs ต้องพัฒนา Competitive Advantages โดยใช้เทคโนโลยี ทำการผลิตสินค้าและบริการให้มีคุณภาพสูงขึ้นด้วยต้นทุน ที่ประหยัดกว่า รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารงาน
3. ความจำเป็นในการร่วมมือพัฒนาขีดความสามารถด้านเทคโนโลยี 3. ความจำเป็นในการร่วมมือพัฒนาขีดความสามารถด้านเทคโนโลยี แรงกดดันจากภายนอกรุนแรงมากขึ้น ตลอดเวลา SMEs มีขีดความสามารถจำกัด ด้านเทคโนโลยี ด้านเงินทุน ยากที่จะดำเนินการได้โดยลำพัง
4. ประสบการณ์ของประเทศที่ประสบความสำเร็จ 4. ประสบการณ์ของประเทศที่ประสบความสำเร็จ สินค้าและบริการที่ผลิตได้ต้องมีลักษณะ Market - Oriented เป็นความร่วมมือระหว่างกิจการขนาดใหญ่กับกิจการ ขนาดเล็ก โดยมีความไว้วางใจกัน (Trust) ส่วนใหญ่เป็นกิจการที่ทำการผลิต (Manufacturing Firms) มีค่าใช้จ่ายในการร่วมมือต่ำ (Low Transaction Costs)
4. ประสบการณ์ของประเทศที่ประสบความสำเร็จ 4. ประสบการณ์ของประเทศที่ประสบความสำเร็จ มีการส่งเสริมการพัฒนาเทคโนโลยีไปสู่ธุรกิจ (Commercialization) โดย Business Incubator นักประดิษฐ์ คิดค้น นักวิชาการ (อาจารย์และนักศึกษา) มีผลการดำเนินงานที่ชัดเจนภายใน 12 เดือน ระดับการศึกษา (+) และอายุ (-) ของผู้บริหารระดับสูงมีอิทธิพลต่อการร่วมมือ
ประโยชน์ของความร่วมมือ การประหยัดจาก Economies of Scale & Scope การเข้าถึงแหล่งทรัพยากรจากภายนอก การเข้าถึงแหล่งข้อมูล – ด้านเทคโนโลยี และการตลาด การแบ่งงานตามความถนัด (Specialization) การลดความเสี่ยง
5. แนวทางการพัฒนาความร่วมมือในประเทศไทย 5. แนวทางการพัฒนาความร่วมมือในประเทศไทย รูปแบบความร่วมมือตามปกติ Technical Assistance Agreement “Know – how” Agreement Joint Venture Subcontracting Licensing Franchising Sharing of Knowledge Sharing of Profit IP Commercial- ization Market & Customer oriented
5. แนวทางการพัฒนาความร่วมมือในประเทศไทย 5. แนวทางการพัฒนาความร่วมมือในประเทศไทย แนวทางการพัฒนาความร่วมมือ กรอบ : ความร่วมมือภายในประเทศ ระหว่างประเทศ ภายในภูมิภาค วิธีการ : พัฒนา Information Networks มี SMEs Database จัดการประชุม สัมมนา โดยเฉพาะ สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ ให้เงินสนับสนุน (Subsidies) สำหรับ SMEs สร้างกลไกความร่วมมือที่เข้มแข็ง
5. แนวทางการพัฒนาความร่วมมือในประเทศไทย 5. แนวทางการพัฒนาความร่วมมือในประเทศไทย แนวทางการพัฒนาความร่วมมือ ผู้มีส่วนร่วม : ภาครัฐ สมาคมหรือชมรมทางธุรกิจ SMEs สถาบันวิจัย / มหาวิทยาลัย
Q & A