พัฒนาการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 34 ปี พ.ศ. 2518 - 2552
เศรษฐกิจไทยเติบโตอย่างแข็งแรงในช่วง 3 ทศวรรษที่ผ่านมา GDP per capita (USD) CAGR = ~7% Per capita GDP (USD) เติบโตเฉลี่ยร้อยละ 7 มีเสถียรภาพภายในประเทศโดยอัตราเงินเฟ้อเฉลี่ยอยู่ที่ระดับร้อยละ 4.4* ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย หมายเหตุ: *อัตราเงินเฟ้อทั่วไปเฉลี่ยตั้งแต่ปี 2523 - 2552
หลายปีที่ผ่านมาตลาดตราสารทุนและตลาดตราสารหนี้มีขนาดและบทบาทเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จนปัจจุบันมีขนาดรวมใหญ่กว่าระบบธนาคารพาณิชย์ราว 1.5 เท่า เงินกู้ธนาคาร หุ้นทุน พันธบัตร ข้อมูล ณ สิ้นปี 2552 หน่วย: พันล้านบาท เงินกู้ธนาคาร 7,807 หุ้นทุน 5,912 พันธบัตร 6,114 มูลค่ารวมตลาดทุนไทยมีขนาดใหญ่กว่ายอดสินเชื่อคงค้างในระบบธนาคารพาณิชย์ประมาณ 1.5 เท่า ที่มา: เงินกู้ธนาคาร – ธนาคารแห่งประเทศไทย ณ สิ้นเดือนธันวาคมของแต่ละปี พันธบัตร – ThaiBMA ณ สิ้นเดือนธันวาคมของแต่ละปี หุ้นทุน (รวม SET และ mai) – SETSMART ณ สิ้นเดือนธันวาคมของแต่ละปี
บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และจนถึงสิ้นปี 2552 มีจำนวน 535 บริษัท จำนวนบริษัทจดทะเบียนเข้าใหม่ จำนวนบริษัทจดทะเบียน จำนวนบริษัทจดทะเบียนรวมตลาด SET และ mai หน่วย: บริษัท ที่มา : SETSMART ณ สิ้นเดือนธันวาคมของแต่ละปี
ความเคลื่อนไหวของดัชนีตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยมีการพัฒนาไปตามสภาวะการณ์ทั้งในและนอกประเทศ ดัชนีต่ำสุดในปี 2519 ที่ระดับ 76.43 จุดเมื่อวันที่ 17 มี.ค. 2519 ดัชนีสูงสุดในปี 2537 ที่ระดับ 1,753.73 จุดเมื่อวันที่ 4 ม.ค. 2537 วิกฤตเวิลด์คอม (มิ.ย. 2545) สงครามสหรัฐฯ กับอิรัก (ก.ค. 45-เม.ย. 46) การแพร่ระบาดของโรค SARS (มี.ค. 46) การฟื้นตัวของเศรษฐกิจประเทศ (ม.ค.-ธ.ค. 46) การแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดนก (ม.ค.-ก.พ. 47) ความไม่สงบใน พื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (ก.พ.- เม.ย. 47) การต่อต้านการ แปรรูป กฟผ. (ก.พ. - มี.ค. 47) แนวโน้มราคาน้ำมันและอัตราดอกเบี้ยเพิ่มขึ้น (พ.ค. – ก.ค. 47) เกิดรัฐประหาร (ก.ย. 2549) มาตรการ กันสำรอง 30% (ธ.ค. 2549) คลัง-ธปท. ประกาศ ค่าเงินบาทลอยตัว (ก.ค. 2540) การปิดสถาบันการเงิน (ธ.ค. 2540) การได้รับความช่วยเหลือ จาก IMF (ส.ค. 2540) วิกฤติสถาบันการเงิน ในเอเชีย (2540) มาตรการฟื้นฟูสถาบันการเงิน (14 ส.ค. 2542) มาตรการกระตุ้นการใช้จ่าย ภาคเอกชน (ส.ค. 2542) การเลือกตั้งรัฐบาลใหม่ (ม.ค. 2544) การลดน้ำหนักการลงทุนของMSCI (พ.ค. 2544) มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ (มี.ค. 2542) การก่อวินาศกรรมในสหรัฐฯ (11 ก.ย. 2544) วิกฤติค่าเงินเปโซของ เม็กซิโก (ม.ค. 2538) ประกาศยกเลิกมาตรการกันสำรอง 30% (ก.พ. 2551) ดัชนี แบริ่ง ซิเคียวริตี้ส์ในสิงคโปร์ขาดทุนจาก การค้าตราสาร อนุพันธ์ (ก.พ. 2538) กลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยปิดล้อมสนามบิน (พ.ย. 2551) เหตุการณ์จลาจลขั้นรุนแรงจากการประท้วงพฤษภาทมิฬ(พ.ค. 2535) สงคราม อ่าวเปอร์เซีย (ส.ค. 2533) ศาลปกครองระงับ 76 โครงการลงทุนในมาบตาพุด (ก.ย. 2552) การเก็งกำไรจากการ เพิ่มขึ้นของราคาอสังหาริมทรัพย์ (2532) คณะ รสช. ปฏิวัติ(ก.พ. 2534) รัฐบาลดูไบขอเลื่อนชำระหนี้ของบริษัทดูไบ เวิล์ด (พ.ย. 2552) Mini Black Monday (ต.ค. 2532) วิกฤตการณ์น้ำมัน และปัญหาบริษัท ราชาเงินทุน (2522) เกิดรัฐประหาร (เม.ย. 2524) Black Monday (ต.ค. 2530) เงินตึง และอัตรา ดอกเบี้ยสูงทั่วโลก (2524) ยุบสภา (พ.ค. 2529) เกิดรัฐประหาร (ก.ย. 2528) ที่มา: ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
ด้านการออม ตลาดทุนให้อัตราผลตอบแทนจากการลงทุนสูงกว่า โดยผลตอบแทนที่ได้เป็นตัวเงินจากการถือหุ้นมากกว่าที่ได้จากเงินฝากประมาณ 4 เท่า Total nominal return 2518-2552 Unit: index (point); assumed that initial investment in year 2517 = 1000 40,368 21,816 10,473 8,590 ที่มา: SET analysis ถึง ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2552
ถ้าหักผลกระทบจากเงินเฟ้อ ตลาดทุนยังคงให้อัตราผลตอบแทนจากการลงทุนสูงกว่า โดยผลตอบแทนที่ได้เป็นตัวเงินจากการถือหุ้นมากกว่าที่ได้จากเงินฝากราว 4 เท่า Total real return 2518-2552 Unit: index (point); assumed that initial investment in year 2517 = 1000 อัตราผลตอบแทนสูงสุดอยู่ที่ร้อยละ 118 ในปี 2532 อัตราผลตอบแทนต่ำสุดอยู่ที่ร้อยละ -52 ในปี 2540 7,994 4,320 2,074 1,701 ที่มา: SET analysis ถึง ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2552