Sulperazon
มูลค่าการใช้ยา ปีงบ 2548 8,842,310 บาท ปีงบ 2548 8,842,310 บาท ต.ค.2548 – พ.ค.2549 9,538,706 บาท ปีงบ 2549 13,217 กรัม ต.ค.2548 – พ.ค.2549 14,522.5 กรัม
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษารูปแบบการใช้ยา Sulperazon ในผู้ป่วยโรคติดเชื้อภายในโรงพยาบาลของโรงพยาบาลสระบุรี
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ทำให้เห็นภาพรวมของการใช้ยา Sulperazon ในผู้ป่วยโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลสระบุรี เป็นข้อมูลให้แก่ PTC / IC และผู้เกี่ยวข้องในการวางนโยบาย กลยุทธ์และแนวทางที่เหมาะสมในการใช้ยา Sulperazon ของโรงพยาบาลสระบุรีต่อไป
การดำเนินการ ทำการทบทวนเวชระเบียนของผู้ป่วยที่ถูกคัดเลือกเข้าการศึกษา รูปแบบการวิจัย เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา โดยเก็บข้อมูลย้อนหลัง (Retrospective Study)
กลุ่มตัวอย่าง ผู้ป่วยโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วย โรงพยาบาลสระบุรี ในช่วงเวลาตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2548 ถึง 31 กรกฎาคม 2548 เก็บข้อมูลโดยสุ่มตัวอย่างจากเวชระเบียบผู้ป่วยจำนวน 25 ราย ที่มีการสั่งใช้ยา Sulperazon
Criteria Inclusion ผู้ป่วยรายที่แพทย์สั่งใช้ยา Sulperazon ในช่วงเวลาที่ทำการศึกษา ผู้ป่วยที่เข้ารักษาตัวในหอผู้ป่วยมากกว่า 48 ชั่วโมง Exclusion ผู้ป่วยที่ได้รับยา Sulperazon นอกช่วงเวลาที่ทำการศึกษา
ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลทั่วไป จำนวน (คน) ร้อยละ เพศ ชาย หญิง 18 7 72 28 อายุ (ปี) 40 ปี ถึง 95 ปี (เฉลี่ย 69 ปี) สิทธิบัตร บัตรทอง ชำระเงิน ชำระเงิน (เบิกได้) / ต้นสังกัด 19 3 76 12
5 วัน ถึง 63 วัน (เฉลี่ย 24 วัน) ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลทั่วไป จำนวน (คน) ร้อยละ หอผู้ป่วย อายุรกรรม ศัลยกรรม 23 2 92 8 จำนวนวันนอน (วัน) 5 วัน ถึง 63 วัน (เฉลี่ย 24 วัน)
จำนวนตำแหน่งที่ติดเชื้อ จำนวน (คน) ร้อยละ (%) 1 ตำแหน่ง 20 80 2 ตำแหน่ง 5
จำแนกตามระบบ ตำแหน่งที่ติดเชื้อ จำนวน(คน) ร้อยละ ระบบประสาท 4 16 ระบบทางเดินหายใจส่วนบน 3 12 ระบบทางเดินหายใจส่วนล่าง 8 32 ติดเชื้อในช่องท้อง 1 ระบบทางเดินปัสสาวะ ระบบประสาท + ระบบทางเดินหายใจส่วนล่าง ระบบทางเดินหายใจส่วนล่าง + ระบบหัวใจและหลอดเลือด ระบบทางเดินหายใจส่วนล่าง +ระบบทางเดินปัสสาวะ 2 ติดเชื้อที่ผิวหนัง + แผลจากการผ่าตัด
จำแนกตามชนิดของเชื้อ จำนวน (คน) ร้อยละ Ps. aeruginosa 2 8 A. baumaniii 7 28 A. baumaniii MDR 1 4 E.coli E.coli ESBL K. pneumoniae 16 A. baumaniii MDR + E.coli No growth
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดเชื้อแกรมลบดื้อยา จำนวน (คน) ร้อยละ ใช้ยาปฏิชีวนะชนิดอื่นมาก่อน 20 80 ใช้ยาปฏิชีวนะชนิดออกฤทธิ์กว้าง ใช้เครื่องช่วยหายใจมากกว่า 7 วัน 18 72 นอนในโรงพยาบาลมากกว่า 30 วัน 10 40 รักษาตัวที่โรงพยาบาลอื่นมาก่อน 5
Antibiotic ที่ได้รับก่อน Sulperazon จำนวน Broad Spectrum Antibiotic จำนวน (คน) ร้อยละ 0 ชนิด 5 20 1 ชนิด 7 28 2 ชนิด 9 36 3 ชนิด 3 12 5 ชนิด 1 4
Antibiotic ที่ได้รับก่อน Sulperazon ชนิดยาปฏิชีวนะ จำนวน (คน) ร้อยละ ไม่เคยได้รับยาปฏิชีวนะ 5 20 Penicillin 2 8 3rd. gen Cephalosporin 6 24 3rd. gen Cephalosporin + Fluoroquinolone 3 12 3rd. gen Cephalosporin + Aminoglycoside 3rd. gen Cephalosporin + Macrolide 3 rd. gen Cephalosporin + Carbapenam 1 4 3 rd. gen Cephalosporin + Penicillins
รูปแบบการให้ยา วิธีการรักษา จำนวน (คน) ร้อยละ Empirical Therapy * 13 52 Mono Therapy 7 28 Combination Therapy 5 20
วันนอน - ระยะเวลาที่ใช้ยา - มูลค่ายา ค่าเฉลี่ย (ค่าต่ำสุด-ค่าสูงสุด) จำนวนวันนอนของผู้ป่วย 24 วัน (5 วัน – 63 วัน) ระยะเวลาของการให้ Sulperazon 9 วัน (3วัน - 26 วัน) ราคายา 14,665 บาท (4,014 บาท - 40,140 บาท)
ผลการใช้ยา ขนาดยา Sulperazon อาการดีขึ้น (คน / ร้อยละ) อาการไม่ดีขึ้น 1 กรัม IV ทุก 12 ชั่วโมง 10 (40) 9 (36) 2 กรัม IV ทุก 12 ชั่วโมง 2 (8) แล้วเพิ่มเป็น 2 กรัม 1 (4) รวม 13 (52) 12 (48)
ADR จาก Sulperazon ขนาดยา Sulperazon เกิด ADR (คน /ร้อยละ) ไม่เกิด ADR (คน / ร้อยละ) 1 กรัม IV ทุก 12 ชั่วโมง 0 (0) 19 (76) 2 กรัม IV ทุก 12 ชั่วโมง 1 (4) 3 (12) แล้วเพิ่มเป็น 2 กรัม 2 (8)
Failure of treatment ปัจจัยที่อาจเกี่ยวข้อง จากการเลือกใช้ยา - อาจเป็นการเลือกใช้ขนาดยา หรือ ชนิดของยา จากตัวผู้ป่วยเอง - ผู้ป่วยที่ทำการศึกษาส่วนใหญ่มีอายุค่อนข้างมาก และมีโรคแทรกซ้อนหลายอย่าง เกิดจากตัวเชื้อ - เชื้อที่พบเป็นเชื้อดื้อยาถึงร้อยละ 12 ทั้งนี้อาจเนื่องจากผู้ป่วยกลุ่มนี้มี risk factor ที่จะก่อให้เกิดเชื้อที่มีแนวโน้มดื้อต่อยาได้ง่าย