กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
ตลาดน้ำมันโลก: การวิเคราะห์บทบาทของ OPEC (ต่อ)
เศรษฐศาสตร์แรงงาน ศ. 471 สหภาพแรงงาน
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายได้ของผู้บริโภค
การเลือกคุณภาพสินค้า
ตัวอย่างการประยุกต์อุปสงค์/อุปทาน
Training Management Trainee
การประยุกต์ 1. Utility function
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
อุปสงค์ อุปทาน และ การกำหนดราคา Applications
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
Revision Problems.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
รศ.ดร. ชวินทร์ ลีนะบรรจง
กลไกราคากับผู้บริโภค
ลัทธิคลาสสิคใหม่ Neoclassical Economics
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
ปัญหาเศรษฐกิจที่สำคัญและแนวทางแก้ไข
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ
เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ตลาดและการแข่งขัน.
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics)
พฤติกรรมผู้บริโภค.
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
คุณครูพรพิมล ตันติวรธรรม โรงเรียนบ้านวังไผ่ สพท.กาญจนบุรี เขต 2
บทที่ 8 รายรับและกำไรจากการดำเนินธุรกิจ
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
Demand in Health Sector
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ตลาดเงินตราต่างประเทศ และอัตราแลกเปลี่ยน
บทที่ 4 การกำหนดเป็นดุลยภาพของตลาดการเปลี่ยนแปลง ภาวะดุลยภาพ และการแทรกแซงดุลยภาพของตลาด ความหมายของดุลยภาพของตลาด ดุลยภาพ (Equilibrium ) หมายถึง ภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์เท่ากับอุปทานโดยจุดดุลยภาพจะแสดงราคาดุลยภาพ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
เงินเฟ้อ และการว่างงาน
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง การเกิดกลไกราคา มักเกิดในประเทศที่ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบ ที่เปิดโอกาสให้เอกชนมีส่วนร่วมในกิจกรรม ทางเศรษฐกิจ ( หากรัฐประกอบกิจกรรมทาง เศรษฐกิจเพียงฝ่ายเดียว มักจะไม่มีกลไกราคา )

เมื่อไม่มีรัฐเข้ามายุ่ง ทำให้ราคาสินค้านั้นขึ้นๆ เมื่อไม่มีรัฐเข้ามายุ่ง ทำให้ราคาสินค้านั้นขึ้นๆ ลงๆ ไปตามกลไกราคา เพราะมันอยู่ที่ความ ต้องการซื้อ และความต้องการขายของคนในตลาด หากความต้องการซื้อมากกว่าความต้องการขาย ของจะราคาแพง หากความต้องการซื้อน้อยกว่าความต้องการขาย ของจะราคาถูก จะเห็นว่าราคาสินค้าจะผลักตัวขึ้น หรือลดลงโดย ที่อยู่กับผู้ซื้อและผู้ขายเท่านั้นเอง เศรษฐกิจก็ดำเนิน ไปได้ด้วยดี ด้วยเหตุนี้เขาจึงเรียกกลไกราคาว่า มือที่มองไม่เห็น (invisible hand)

หน้าที่ของกลไกราคา - กำหนดราคาสินค้า - กำหนดปริมาณสินค้า - กำหนดราคาสินค้า ( ภาษาทางเศรษฐศาสตร์ใช้คำว่า มูลค่า ) - กำหนดปริมาณสินค้า ( เพราะเมื่อราคาถูก ผู้ซื้อจะซื้อปริมาณมาก แต่ผู้ขายจะขายปริมาณน้อย ) - กำหนดปริมาณการผลิตของผู้ประกอบการ ( เพราะผู้ประกอบจะใช้กลไกราคาในการศึกษาว่า จะผลิตออกมายังไงถึงได้กำไรมากๆ )

องค์ประกอบของกลไกราคา ความต้องการซื้อ ศัพท์เศรษฐศาสตร์ใช้คำว่า อุปสงค์ ความต้องการขาย ศัพท์เศรษฐศาสตร์ใช้คำว่า อุปทาน ถ้าเกิดความต้องการซื้อพอดีกับ ความต้องการขาย ศัพท์ทางเศรษฐศาสตร์ใช้คำว่า ภาวะดุลยภาพ

อุปสงค์ กฏ ( Demand ) Concept ถ้าราคา อุปสงค์ ถ้าราคา อุปสงค์ ( ความต้องการซื้อ + อำนาจซื้อ = มีเงินพอที่จะซื้อขณะนั้นทันที ) กฏ ถ้าราคา อุปสงค์ ถ้าราคา อุปสงค์

ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง รายได้ของผู้บริโภค รสนิยมของผู้บริโภค จำนวนประชากร เพศ และวัย ฤดูกาล หรือสภาพลมฟ้าอากาศ สมัยนิยม หรือความนิยมตามยุคสมัย ราคาสินค้าที่เกี่ยวข้องกันและใช้แทนกันได้ การคาดคะเนการขึ้น หรือลงของสินค้าในอนาคต

อุปทาน กฏ ( Supply ) Concept ถ้าราคา อุปทาน ถ้าราคา อุปทาน ( ความต้องการเสนอขายและบริการ จำนวนสูงสุด ณ ระดับราคาหนึ่ง) กฏ ถ้าราคา อุปทาน ถ้าราคา อุปทาน

ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณความต้องการ เสนอขายสินค้าและบริการกับราคาสินค้า ราคาสินค้าต่อกิโลกรัม (บาท) ปริมาณความต้องการเสนอขายสินค้า (กก.) 11 12 13 14 15 16 17 10 30 50 70 90 110

17 16 15 14 13 12 10 30 50 70 90 110 ราคาสินค้าต่อกิโลกรัม (บาท) ราคาสินค้า 17 บาทต่อ 1 กิโลกรัม ปริมาณความต้องการผลิตหรือขาย เพิ่มเป็น 110 กิโลกรัม 16 15 14 13 ราคาสินค้า 12 บาทต่อ 1 กิโลกรัม ปริมาณความต้องการผลิตหรือขายมีเพียง 10 กิโลกรัม 12 ปริมาณสินค้า (กก.) 10 30 50 70 90 110

ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง รายได้ของผู้บริโภค รสนิยมของผู้บริโภค จำนวนประชากร เพศ และวัย ฤดูกาล หรือสภาพลมฟ้าอากาศ สมัยนิยม หรือความนิยมตามยุคสมัย ราคาสินค้าที่เกี่ยวข้องกันและใช้แทนกันได้ การคาดคะเนการขึ้น หรือลงของสินค้าในอนาคต

ปริมาณการขายเป็นกิโลกรัม ราคาดุลยภาพ ราคาดุลยภาพและปริมาณดุลยภาพ หมายถึง ราค่าหรือปริมาณที่ผู้บริโภค พอใจที่จะซื้อหรือใช้ และผู้ผลิตหรือผู้ขายพอใจที่จะขายหรือผลิต ราคาดุลยภาพในตลาด ราคาต่อ กก. (บาท) ปริมาณการซื้อ เป็นกิโลกรัม ปริมาณการขายเป็นกิโลกรัม ผลกระทบ แนวโน้มของราคา (เพิ่ม –ลดลง) 50 40 30 20 10 สินค้าเหลือ 40 กก. สินค้าเหลือ 20 กก. สินค้าหมดพอดี สินค้าขาด 20 กก. สินค้าขาด 40 กก. ลดลง คงที่ เพิ่มขึ้น

ความสัมพันธ์ระหว่างเส้นอุปสงค์ อุปทาน และราคาดุลยภาพ ราคาสินค้าต่อกิโลกรัม D 50 S เส้นอุปทาน 40 30 จุดดุลยภาพ (ราคาดุลยภาพและปริมาณดุลยภาพ 20 10 เส้นอุปสงค์ S D ปริมาณสินค้าเป็นกิโลกรัม 10 20 30 40 50

การเปลี่ยนแปลงของราคาดุลยภาพ ราคาสินค้าต่อกิโลกรัม D2 อุปทานส่วนเกิน S D1 50 40 จุดดุลยภาพใหม่ 30 อุปสงค์ส่วนเกิน เส้นอุปสงค์ หลังมีการเปลี่ยนแปลง 20 10 D2 S D1 ปริมาณสินค้าเป็นกิโลกรัม 10 20 30 40 50 60 70

กราฟแสดงราคาดุลยภาพและปริมาณดุลยภาพ ราคาสินค้าต่อกิโลกรัม S D A B P1 p3 P2 C D Q ปริมาณสินค้าเป็นกิโลกรัม