Dust Explosion
สถิติการระเบิดของฝุ่นในประเทศไทย สำหรับในประเทศไทยยังไม่มีการรวบรวมสถิติการระเบิดของฝุ่นที่แน่ชัด จึงมีรายงานข้อมูลการเกิดอุบัติเหตุจากการระเบิดของฝุ่นค่อนข้างน้อย ข้อมูลจากกรมโรงงานอุตสาหกรรมมีเพียงจำนวน5 ครั้ง ดังตารางแสดงสถิติการระเบิดของฝุ่นในประเทศไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 – พ.ศ. 2552 ที่มา : คู่มือการจัดการความปลอดภัยโรงงานที่มีฝุ่นระเบิดได้ กรมโรงงานอุตสาหกรรม ตารางที่ 1.3 แสดงสถิติการระเบิดของฝุ่นในประเทศไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 – พ.ศ. 2552
ที่มา : http://www.hughesenv.com/combustible-dust-remediation-services
องค์ประกอบของการระเบิดของฝุ่น ฝุ่นสันดาปได้ (Combustible Dust ) ฝุ่นที่สามารถระเบิดได้ต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ เป็นฝุ่นที่ติดไฟได้ มีขนาดเล็กกว่า 420 ไมโครเมตร (μm) ตาม NFPA 654 ความเข้มข้นของฝุ่นมีค่าเท่ากับหรือมากกว่าความเข้มข้นต่ำสุดที่จะระเบิดได้ (Minimum Explosible Concentration ; MEC) ซึ่งอยู่ในช่วงประมาณ 50–100 g/m3 จนถึง 2 – 3 Kg/m3
ชนิดของฝุ่นที่ติดไฟ แบ่งออกเป็น ฝุ่นอินทรีย์สาร เช่น ฝุ่นแป้ง ฝุ่นไม้ ผงน้ำตาล ฝุ่นอินทรีย์สารสังเคราะห์ เช่น ฝุ่นพลาสติก ฝุ่นยาหรือยาฆ่าแมลง ฝุ่นถ่านและถ่านหิน ฝุ่นโลหะ เช่น ผงอะลูมิเนียม แมกนีเซียม สังกะสี
องค์ประกอบของการระเบิดของฝุ่น (ต่อ) 2. ปริมาณออกซิเจนในอากาศ (Oxygen) มีผลต่อความเร็วในการเผาไหม้ ปริมาณออกซิเจนที่มากกว่า 20.9 เปอร์เซ็นต์จะทำให้ฝุ่นลุกติดไฟได้อย่างรวดเร็ว ถ้าออกซิเจนมีปริมาณลดลงความเร็วในการเผาไหม้ก็จะลดลง 3. แหล่งกำเนิดความร้อนหรือเปลวไฟ (Ignition Sources) ต้องมีพลังงาน ความร้อนที่เพียงพอในการกระตุ้นการแพร่ขยายของเปลวไฟออกไปเป็นวงกว้างและสัมผัสกับฝุ่นที่แขวนลอยอยู่ในบรรยากาศ
องค์ประกอบของการระเบิดของฝุ่น (ต่อ) 4. การฟุ้งกระจายของฝุ่น (Dispersion of Dust Particles) มีการฟุ้งกระจายของฝุ่นสันดาปได้ในอากาศ และความเข้มข้นอยู่ในช่วง MEC ถ้าฝุ่นไม่ฟุ้งกระจายจะเกิดเพียงการลุกไหม้ ไม่เกิดการระเบิด 5. ขอบเขตของหมอกฝุ่น (Confinement of the Dust Cloud) หมายถึง ขอบเขตที่เกิดหมอกฝุ่นปกคลุมซึ่งมีความเข้มข้นอยู่ในช่วง MEC อาจจะอยู่ในเครื่องจักรหรืออุปกรณ์ในกระบวนการผลิต ในห้อง หรือพื้นที่เปิดโล่งก็ได้
Sodium carbonate ( Na2CO3 ) 0 : ไม่ติดไฟ เป็นผงสีขาว ไม่มีกลิ่น ดูดความชื้นจากอากาศได้ดี ละลายน้ำได้ มวลโมเลกุล ( Molecular Weight ) : 106 g/mol ความหนาแน่น (Density) : 2.25 จุดหลอมเหลว (Melting Point ) : 851 oC จุดเดือด (Boiling Point) : 1,600 oC Flammability of the Product : Non-flammable Hazard Symbols : Xi (Irritant) ป้ายสัญลักษณ์บ่งชี้ความเป็นอันตรายตามระบบ NFPA 704 : 0 - ไม่ติดไฟ NFPA704 ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/โซเดียมคาร์บอเนต http://www.guidechem.com/dictionary/en/497-19-8.html http://www.sciencelab.com/msds.php?msdsId=9927591
เพิ่มเติมความรู้ การศึกษาชนิดของฝุ่นระเบิดได้ในสหรัฐอเมริกา โดย OSHA (Occupational Safety and Health Administration) เป็นหน่วยงานของรัฐที่ดูแลกฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัย และสุขภาพอนามัยของสหรัฐอเมริกา ได้แบ่งฝุ่นระเบิดออกเป็น 6 กลุ่ม ดังนี้ ที่มา : http://oaep.diw.go.th/cms/images/stories/pdf/Deflagration.pdf
OSHA (Occupational Safety and Health Administration) ตัวอย่าง…
ขอบคุณครับ