ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ โดย อ.กุลกนิษฐ์ ใจดี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
Advertisements

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา Personal Income Tax
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย สิงหาคม 2552
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การคลังและนโยบาย การคลัง
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
เศรษฐศาสตร์สถาบันว่าด้วยกรรมสิทธิ์ (๑)
เศรษฐกิจในชีวิตประจำวัน
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
รายได้และรายจ่ายของตนเองและครอบครัว
ระบบเศรษฐกิจ.
แนวทางการศึกษาด้านเศรษฐกิจ สังคม และเศรษฐศาสตร์
การมองทฤษฎีการพัฒนาอย่างวิเคราะห์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นในวิชาเศรษฐศาสตร์
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
Revision Problems.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
นโยบายการคลัง Fiscal Policy
รศ.ดร. ชวินทร์ ลีนะบรรจง
บทที่ 6 โปรแกรมเชิงเส้น Linear Programming
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิชา เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น Introduction to Economics Lecturer : Orasa Tuntiyawongsa Faculty of Applied Arts. KMITNB
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 บัญชีรายได้ประชาชาติ
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 1 บทนำ เศรษฐศาสตร์คืออะไร เศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหภาค
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
Economic Institute เพื่อสนองความต้องการของตนเองทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ กระบวนการการแสวงหาอาหาร การผลิตอาหาร การบริโภคต่างๆ.
การวางแผนการผลิตรวม ความหมาย วัตถุประสงค์และขั้นตอนการวางแผนการผลิตรวม
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
การวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
บทเรียนช่วยสอน วิชา เศรษฐศาสตร์ เรื่อง ระบบเศรษฐกิจ จัดทำโดย ครูธณัชพงษ์ ศักดิ์ชัชวาล มัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มสาระสังคมศึกษา โรงเรียนอุดมดรุณี อ.เมือง.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 บทนำ โดย อ.มานิตย์ ผิวขาว
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
กระบวนการทางเศรษฐกิจ
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
การวางแผนการผลิต และการบริการ
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
ต้นทุนการผลิต.
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
บทบาทของข้อมูลการตลาด
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
ทฤษฎีการผลิต.
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
บทที่1 การบริหารการผลิต
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ความรู้พื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ โดย อ.กุลกนิษฐ์ ใจดี ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ โดย อ.กุลกนิษฐ์ ใจดี

เศรษฐศาสตร์ คือ อะไร ความต้องการไม่จำกัด ทรัพยากรมีอยู่จำกัด เมื่อเทียบกับ ความต้องการไม่จำกัด

ความต้องการ > ทรัพยากร ความต้องการ > ทรัพยากร เกิดความขาดแคลน ทำการเลือกภายใต้ทรัพยากรที่มีอยู่นั้น ค่าเสียโอกาส การเลือก

เศรษฐศาสตร์ ศาสตร์ที่ว่าด้วยวิธีการที่มนุษย์และสังคม เลือกใช้ทรัพยากรที่มีจำนวนจำกัด มาทำการผลิตสินค้าและบริการ เพื่อสนองความต้องการของมนุษย์ที่มีอยู่อย่างไม่จำกัดให้ได้รับความพอใจ สูงสุด

I ทรัพยากรหรือปัจจัยการผลิต (Resources or Factor of Production) : ทรัพยากรที่นำมาใช้ในการผลิตสินค้าและบริการ แบ่งได้เป็น 4 ประเภท คือ ที่ดิน (Land) แรงงานหรือทรัพยากรมนุษย์หรือทุนมนุษย์ (Labor or Human resource or Human capital) ทุนหรือสินค้าทุน (Capital or Capital Goods) ผู้ประกอบการ (entrepreneur)

ที่ดิน (Land) รวมถึงทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ เช่น ป่าไม้ แร่ธาตุ สัตว์ป่า สัตว์บก สัตว์น้ำ ความอุดมสมบูรณ์ของดิน ปริมาณน้ำฝน ฯลฯ มนุษย์สร้างขึ้นไม่ได้ แต่สามารถ ปรับปรุงคุณภาพให้ดีขึ้นได้ ค่าตอบแทน : ค่าเช่า (Rent)

แรงงานหรือทรัพยากรมนุษย์หรือทุนมนุษย์ (Labor or Human resource or Human capital) แรงกาย แรงใจ รวมถึงสติปัญญา ความรู้ ความสามารถ และความคิดที่ใช้ในการผลิตสินค้าและบริการ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ แรงงานมีฝีมือ แรงงานกึ่งมีฝีมือ และแรงงานไร้ฝีมือ ค่าตอบแทน : ค่าจ้าง หรือเงินเดือน (Wage and Salary)

ทุนหรือสินค้าทุน (Capital or Capital Goods) สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อใช้ร่วมกับปัจจัยการผลิตอื่นๆ เพื่อผลิตสินค้าและบริการ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ สิ่งก่อสร้าง และ เครื่องมือเครื่องจักร ค่าตอบแทน : ดอกเบี้ย (Interest)

ผู้ประกอบการ (entrepreneur) Land Capital Labor Entrepreneur

ผู้ประกอบการ (entrepreneur) ทำหน้าที่ในการวางแผนและกำหนดนโยบายในการผลิต ภาระความเสี่ยงทางด้านการผลิตและการตลาด ค่าตอบแทน : กำไร (Profit)

II สินค้าและบริการ (Goods and Services) สิ่งที่ได้จากการผลิตโดยใช้ปัจจัยการผลิตต่าง ๆ เป็นสิ่งที่ให้ ความพอใจ มากกว่า “ศูนย์” สามารถสนองความต้องการของผู้บริโภคได้ แบ่งได้ 2 ประเภท คือ สินค้าไร้ราคา (Free Goods) เศรษฐทรัพย์ (Economic Goods)

สินค้าไร้ราคา (Free Goods) สินค้าที่มีมากและมีไม่จำกัดเมื่อเทียบกับความต้องการของมนุษย์ เป็นสิ่งที่ไม่มีราคา

เศรษฐทรัพย์ (Economic Goods) สินค้าที่มีราคามากกว่า “ศูนย์” แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ สินค้าเอกชน (Private Goods) สินค้าสาธารณะ (Public Goods)

ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ผลิตอะไร (What to produce ?) ผลิตอย่างไร (How to produce ?) ผลิตเพื่อใคร (For whom to produce ?)

ระบบเศรษฐกิจ หน่วยเศรษฐกิจที่รวมตัวเป็นกลุ่มสถาบันทางเศรษฐกิจ (Economic Institutions) โดยจะมี การแบ่งงานกันทำตามความถนัดของแต่ละหน่วย ทุกหน่วยจะต้องประสานงานกัน ดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจภายใต้ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม และกฎหมายอันเดียวกัน

ระบบเศรษฐกิจ แบ่งได้ 3 ระบบใหญ่ ๆ คือ ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผนจากส่วนกลาง (Central Planning System) ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (Mixed Economy)

I ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม (Free - Enterprise System) หรือ ระบบตลาด (Market System) ลักษณะสำคัญ กรรมสิทธิในทรัพยากรเป็นของเอกชน เสรีภาพในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ มีกำไรเป็นเครื่องจูงใจ รัฐบาลจะไม่เข้าแทรกแซงโดยไม่จำเป็น ระบบกลไกราคา : แก้ปัญหาพื้นฐาน

เลือกผลิตสินค้าที่มีความต้องการมาก การแก้ปัญหาพื้นฐาน ผลิตอะไร เลือกผลิตสินค้าที่มีความต้องการมาก ราคาสินค้าสูง เปรียบเทียบกับต้นทุนการผลิต มีกำไร ผลิต

การแก้ปัญหาพื้นฐาน (ต่อ) ผลิตอย่างไร ผู้ผลิตต้องการกำไรสูงสุด แต่ไม่สามารถตั้งราคาได้ตามต้องการ ลดต้นทุนการผลิตเพื่อให้ได้กำไรเพิ่มขึ้น มองราคาปัจจัยการผลิต และวิธีการผลิต

การแก้ปัญหาพื้นฐาน (ต่อ) ผลิตเพื่อใคร ความสามารถในการจ่ายของบุคคล รายได้ มาก จ่าย ได้มาก รายได้ น้อย จ่าย ได้น้อย การเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต ราคาของปัจจัยการผลิต

ข้อดี :ระบบทุนนิยม มีแรงจูงใจในการผลิต มีการปรับปรุงเทคนิคการผลิตให้มีประสิทธิภาพ เพื่อลดต้นทุนการผลิต มีการจัดสรรทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ และ มีเทคโนโลยีที่ทันสมัย

ข้อเสีย :ระบบทุนนิยม การกระจายผลผลิตหรือกระจายรายได้ ไม่เท่าเทียมกัน อาจเกิดการผูกขาดขึ้นได้ในระบบเศรษฐกิจ

เป้าหมาย :ระบบทุนนิยม ความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ ความมีประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ

II ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผนจากส่วนกลาง (Central Planning System) ลักษณะสำคัญ : รัฐเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตต่างๆ รวมถึงแรงงาน การแก้ปัญหาพื้นฐาน : รัฐบาลเป็นผู้กำหนดนโยบาย

ข้อดี : ข้อเสีย ข้อดี ก่อให้เกิดความเสมอภาค : การบริโภค การมีรายได้ การมีงานทำ มีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ข้อเสีย ขาดเสรีภาพในทางเศรษฐกิจ ประชาชนขาดแรงจูงใจในการแสวงหารายได้ ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นไปอย่างช้าๆ

เป้าหมาย : แบบวางแผนจากส่วนกลาง ความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจ ความมีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ

III ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (Mixed Economy) การแก้ปัญหาพื้นฐาน กลไกราคาและการวางแผนจากส่วนกลาง ทุนนิยม วางแผน แบบผสม

เศรษฐศาสตร์จุลภาค และ เศรษฐศาสตร์มหภาค

ราคาลำไยของประเทศไทยปี 2545 มีราคาตกต่ำ ระดับราคาสินค้าโดยทั่วไปของจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2545 เท่ากับ 125.2 รายได้เฉลี่ยของคนงานในอุตสาหกรรมเหล็กกล้าของไทยเท่ากับ 150 บาท/วัน รายได้เฉลี่ยของภาคเหนือเท่ากับ 15,000 บาท/ปี

เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ และ เศรษฐศาสตร์นโยบาย เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ และ เศรษฐศาสตร์นโยบาย

เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ (Positive Economics) การศึกษาเพื่อแสวงหาความรู้ความเข้าใจใน ปรากฎการณ์ทางเศรษฐกิจต่างๆ ที่เกิดขึ้น โดยเป็นการศึกษาหาเหตุและผลของ ปรากฎการณ์ทางเศรษฐกิจ ในภาวะเศรษฐกิจรุ่งเรืองการเก็บภาษีแบบอัตราก้าวหน้าจะทำให้รัฐได้รับรายได้เพิ่มขึ้น

เศรษฐศาสตร์นโยบาย (Normative Economics) การศึกษาเพื่อใช้ความรู้ทางเศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ มากำหนดแนวทางที่ถูกว่าควรเป็นเช่นใด ควรจะแก้ไขอย่างไร เพื่อประโยชน์ในการวางแผนหรือกำหนดนโยบาย ทางเศรษฐกิจ เช่น รัฐควรเก็บภาษีในอัตราก้าวหน้าเพื่อการกระจายรายได้ที่ดีขึ้น

1. มนุษย์เป็นผู้มีเหตุผลในทางเศรษฐศาสตร์ (Economic rationality) ข้อสมมติที่สำคัญในการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ 1. มนุษย์เป็นผู้มีเหตุผลในทางเศรษฐศาสตร์ (Economic rationality) คือ การตัดสินปัญหาทางเศรษฐกิจของบุคคล จะเป็นไปในทางที่จะทำให้ตนเองได้รับประโยชน์สูงสุด

2. ข้อสมมติให้สิ่งอื่นๆ คงที่ (Other things being constant) คือ การกำหนดให้สิ่งอื่นๆ คงที่หรือไม่มีอิทธิพลใดๆ ทั้งสิ้นนอกจากปัจจัยที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับเรื่องที่กำลังศึกษา

เครื่องมือในการศึกษาเศรษฐศาสตร์ ฟังก์ชัน (Function) : การแสดงความสัมพันธ์ของตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม เช่น Y = f (X) Q = f (P) Qx = f (Px, Py, Y, T, S)

สมการ (Equation) 9 2 7 1 5 Y X Y = a + bX Qd = a – bPx เช่น Y = 5 + 2X Y X Y = a + bX Qd = a – bPx เช่น Y = 5 + 2X Y = 5 + 2X Qd = 8 – 4Px

กราฟ Y X 5 7 9 1 2 X Y 5 1 7 2 9

ความชัน (Slope) : อัตราส่วนระหว่างส่วนเปลี่ยนแปลงของ Y กับ X slope = Y X

Y slope = X 9 - 7 Y slope = 2 - 1 X 2 slope = 1 slope = + 2 Y X 5 1 2 slope = 9 - 7 2 - 1 Y X slope = 2 1 slope = + 2

Y X A B ( + ) ( - )

การวัดค่าตัวแปร ค่ารวม (Total value) : การคิดค่าของยอดรวมทั้งหมด ค่าเฉลี่ย (Average value) : อัตราส่วนระหว่างยอดรวมของตัวแปรตามกับยอดรวมของ ตัวแปรอิสระ

ค่าส่วนเพิ่ม หรือค่าหน่วยสุดท้าย (Marginal value) : อัตราส่วนระหว่างส่วนเปลี่ยนแปลง ของตัวแปรตามกับส่วนเปลี่ยนแปลงของ ตัวแปรอิสระ : เป็นการพิจารณาว่าตัวแปรตามจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร เมื่อตัวแปรอิสระเปลี่ยนแปลงค่าไป 1 หน่วย

เงินรางวัล = f (จำนวนข้อ) เกมเศรษฐี สมมติตอบคำถามได้ 5 ข้อ 25,000 บาท ค่า T เงินรางวัล = f (จำนวนข้อ)

โดยเฉลี่ยแล้วได้เงินรางวัลข้อละกี่บาท ค่า A 25,000 5 = 5,000 เงินรางวัล จำนวนข้อ =

เงิน 2 – เงิน 1 ข้อ 2 – ข้อ 1 ค่า M 10,000 – 5,000 2 - 1 = 5,000 = เมื่อตอบคำถามข้อ 2 ได้แสดงว่าได้เงินรางวัล เพิ่มขึ้นเท่าใด

เงินรางวัล = f (จำนวนข้อ) Y = f (X) เงินรางวัล จำนวนข้อ = ค่า A Y X  เงินรางวัล  จำนวนข้อ ค่า M  Y  X Slope

A = 5,000 และ M = 5,000 ความหมายเดียวกันหรือไม่ A = 5,000 : โดยเฉลี่ยแล้ว 1 ข้อ ได้เงินรางวัล 5,000 บาท M = 5,000 : ตอบคำถามได้เพิ่มขึ้น 1 ข้อ ได้เงินรางวัล เพิ่มขึ้น 5,000 บาท

ต้นทุนค่าเสียโอกาส (Opportunity Cost) คุณค่าหรือมูลค่าของทางเลือกที่ดีที่สุดในบรรดาทางเลือกทั้งหลายที่ต้องสละไป เมื่อมีการตัดสินใจเลือกทางใดทางหนึ่งในการใช้ทรัพยากร ค่าเสียโอกาสต่ำ : เลือกใช้ทรัพยากรได้เหมาะสม

ตัวอย่าง รับราชการ ได้รายได้ตลอดชีพ 25 ล้านบาท ทำงานเอกชน ได้รายได้ตลอดชีพ 45 ล้านบาท ศึกษาต่อ ป.เอก แล้วรับราชการ 27 ล้านบาท ศึกษาต่อ ป.โท แล้วทำงานเอกชน 75 ล้านบาท

ทางเลือกที่ 4 เป็นทางเลือกที่ดีที่สุด เพราะต้นทุนค่าเสียโอกาสต่ำที่สุด ถ้าเลือกข้อ 4 ค่าเสียโอกาสเท่ากับ 45 ล้านบาท ถ้าเลือกข้อ 1 , 2 หรือ 3 ค่าเสียโอกาสเท่ากับ 75 ล้านบาท ทางเลือกที่ 4 เป็นทางเลือกที่ดีที่สุด เพราะต้นทุนค่าเสียโอกาสต่ำที่สุด

เส้นความเป็นไปได้ในการผลิต (Production Possibility Curve : PPC) เส้นซึ่งแสดงถึงจำนวนต่าง ๆ ของสินค้า 2 ชนิดที่ประเทศหนึ่งสามารถผลิตได้ด้วยทรัพยากรที่มีอยู่ทั้งหมดในระยะเวลาหนึ่ง และด้วยเทคนิคการผลิตที่มีอยู่ในขณะนั้นอย่างมีประสิทธิภาพ

Production Possibility Curve : PPC ข้อสมมุติ 1. ทรัพยากรของประเทศถูกนำมาใช้อย่างเต็มที่ 2. ประเทศทำการผลิตสินค้าเพียง 2 ชนิด 3. เทคนิคการผลิตคงที่ในระดับหนึ่ง

สมมติประเทศหนึ่งทำการผลิตสินค้า 2 ชนิด คือ ข้าว และ รองเท้า รองเท้า (ล้านคู่) ข้าว (ล้านตัน) แผน 15 A 14 1 B 5 F 4 E 9 3 D 12 2 C

จุดต่างๆ บนเส้น PPC แสดงถึง “ผลผลิตศักยภาพ ” รองเท้า ข้าว 5 15 10 3 4 1 2 A B C D E F เส้น PPC

ผลผลิตศักยภาพ (Potential output) ผลผลิตที่เป็นไปได้หากมีการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ทั้งหมด ภายใต้ระบบเศรษฐกิจอย่างเต็มที่ เมื่อสังคมทำการผลิตสินค้าชนิดหนึ่งเพิ่มขึ้นจะต้องลดการผลิตสินค้าอีกชนิดหนึ่งลง

ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง  ผลผลิตศักยภาพ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง  ผลผลิตศักยภาพ รองเท้า ข้าว 5 15 10 3 4 1 2 A B C D E F R S

เส้น PPC จะเคลื่อนที่ได้ ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงของ รองเท้า ข้าว 5 15 10 3 4 1 2 A B C D E F R S ทรัพยากรการผลิต เทคโนโลยี

เส้น PPC มีลักษณะเป็นเส้นโค้งออกจากจุดกำเนิด (Concave to origin) เนื่องจากเมื่อผลิตสินค้าชนิดหนึ่งเพิ่มขึ้น ต้นทุนค่าเสียโอกาสจะมีค่าเพิ่มขึ้น รองเท้า ข้าว 5 15 10 3 4 1 2 A B C D E F

เดิมผลิตที่จุด A (รองเท้า 15 , ไม่ผลิตข้าว) ค่าเสียโอกาส 1 ล้านคู่ 10 3 4 1 2 A B C D E F ค่าเสียโอกาส 1 ล้านคู่ A  B ค่าเสียโอกาส 2 ล้านคู่ B  C ค่าเสียโอกาส 3 ล้านคู่ C  D ค่าเสียโอกาส 4 ล้านคู่ D  E ค่าเสียโอกาส 5 ล้านคู่ E  F

กิจกรรมทางเศรษฐกิจและกระแสหมุนเวียนของกิจกรรมเศรษฐกิจ : การบริโภค การผลิต การแลกเปลี่ยน และการจำแนกแจกจ่าย ผู้ดำเนินกิจกรรม  หน่วยเศรษฐกิจ : ผู้บริโภค ผู้ผลิต เจ้าของปัจจัยการผลิต รัฐบาล

กระแสหมุนเวียนของกิจกรรมเศรษฐกิจ ครัวเรือน  ผู้บริโภค เจ้าของปัจจัยการผลิต ผู้ผลิต รัฐบาล

ระบบเศรษฐกิจแบบแลกเปลี่ยนโดยตรง หรือ แลกสิ่งของต่อสิ่งของ (Barter System) สินค้าและบริการ ครัวเรือน ผู้ผลิต ปัจจัย การผลิต

ระบบเศรษฐกิจที่ใช้เงินเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน สินค้าและบริการ ค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าและบริการ ปัจจัยการผลิต ค่าตอบแทนปัจจัยการผลิต (รายได้) ผู้ผลิต ครัวเรือน Money Sector Real Sector

ระบบเศรษฐกิจที่ใช้เงินเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนโดยผ่านตลาด ครัวเรือน ผู้ผลิต ตลาดสินค้า ตลาดปัจจัย การผลิต สินค้า บริการ ปัจจัยการผลิต รายจ่ายซื้อสินค้า รายรับ ค่าตอบแทนปัจจัย ต้นทุนการผลิต

กรณีมีกิจกรรมของรัฐบาล ครัวเรือน ผู้ผลิต ตลาดสินค้า ตลาดปัจจัย การผลิต สินค้า บริการ ปัจจัย การผลิต รายจ่ายซื้อสินค้า รายรับ ค่าตอบแทนปัจจัย ต้นทุนการผลิต รัฐบาล tax รายจ่าย รายจ่าย ซื้อสินค้า ต้นทุน