ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เมื่อกำหนดเศษส่วนสองจำนวนที่มีตัวส่วนตัวหนึ่ง เป็นพหุคูณของตัวส่วนอีกตัวหนึ่งให้ สามารถเปรียบเทียบเศษส่วนได้
เมื่อพิจารณาส่วนที่แรเงาของแต่ละรูปจะเห็นว่า การเปรียบเทียบเศษส่วน การเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน 1 3 2 3 เมื่อพิจารณาส่วนที่แรเงาของแต่ละรูปจะเห็นว่า 1 3 2 3
เมื่อพิจารณาส่วนที่แรเงาของแต่ละรูปจะเห็นว่า การเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน 3 4 2 4 เมื่อพิจารณาส่วนที่แรเงาของแต่ละรูปจะเห็นว่า 3 4 2 4
เมื่อพิจารณาส่วนที่แรเงาของแต่ละรูปจะเห็นว่า การเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน 4 5 3 5 เมื่อพิจารณาส่วนที่แรเงาของแต่ละรูปจะเห็นว่า 4 5 3 5
เช่น หรือ สรุปได้ว่า การเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน เศษส่วนที่มีตัวเศษมากกว่าจะมีค่ามากกว่า เศษส่วนที่มีตัวเศษน้อยกว่า 7 9 4 9 , 5 8 3 8 , 9 17 8 17 เช่น 4 7 2 6 5 7 , 3 6 , 6 10 7 10 หรือ
เมื่อพิจารณาส่วนที่แรเงาของแต่ละรูปจะเห็นว่า การเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวเศษเท่ากัน 2 3 2 4 เมื่อพิจารณาส่วนที่แรเงาของแต่ละรูปจะเห็นว่า 2 3 2 4
เมื่อพิจารณาส่วนที่แรเงาของแต่ละรูปจะเห็นว่า การเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวเศษเท่ากัน 2 5 2 6 เมื่อพิจารณาส่วนที่แรเงาของแต่ละรูปจะเห็นว่า 2 5 2 6
เมื่อพิจารณาส่วนที่แรเงาของแต่ละรูปจะเห็นว่า การเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวเศษเท่ากัน 2 4 2 6 เมื่อพิจารณาส่วนที่แรเงาของแต่ละรูปจะเห็นว่า 2 4 2 6
การเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวเศษเท่ากัน สรุปได้ว่า การเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวเศษเท่ากัน ให้เปรียบเทียบตัวส่วนเศษส่วนที่มีตัวส่วนมากกว่า จะมีค่าน้อยกว่าเศษส่วนที่มีตัวส่วนน้อยกว่า