MTE 426 การวิเคราะห์ตำแหน่ง พิเชษฐ์ พินิจ 1.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเคลื่อนที่.
Advertisements

ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
แนวเดินและกราฟออยเลอร์
บทที่ 2 เวกเตอร์แรง.
บทที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพ
การวิเคราะห์บริบท : ความท้าทายของการบริหารการศึกษาในอนาคต
บทที่ 2 ฟังก์ชันค่าเวกเตอร์
การเขียนหุ่นนิ่งรวม.
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
Energy and Potential วัตถุประสงค์ ทราบค่าคำจำกัดความ “งาน” ในระบบประจุ
4.5 The Potential Field of A System of Charges : Conservative Property
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ความเร็ว
การวิเคราะห์ความเร่ง
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
Thesis รุ่น 1.
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์
ความเท่ากันทุกประการ
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2)
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
กราฟ พื้นที่ และ ปริมาตร
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
ค่าสุดขีดและจุดอานม้า Extreme Values and Saddle Points
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
CALCULUS III ส่วนที่ 2 : สมการเชิงอนุพันธ์ อาจารย์ ดร.เจษฎา ตัณฑนุช.
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
การวางแผนและการดำเนินงาน
Chapter 3 Graphics Output primitives Part II
Application of Graph Theory
งานและพลังงาน (Work and Energy).
หน่วยที่ 11 อินทิกรัลสามชั้น
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
หน่วยที่ 12 การประยุกต์อินทิกรัลหลายชั้น
ข้อ4.จงพิจารณาการผ่านขั้ว การสมมาตรกับแกนขั้ว กับเส้นตรง
ระบบอนุภาค.
Function and Their Graphs
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรง
โปรแกรมกราฟิก illustrator cs3
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
Systems of Forces and Moments
การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ
Geographic Information System
โครงการบริหารจัดการข้อมูลที่ดินระบบภูมิศาสตร์สารสนเทศ(Gis) โดยใช้เครือข่าย internet สำนักงานที่ดินจังหวัดลำปาง สาขาแจ้ห่ม.
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
อาจารย์สถิตย์ กังวานณรงค์กุล มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
หลักเกณฑ์การออกแบบ.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
บทที่ 1 เรขาคณิตเบื้องต้น
ความชันและสมการเส้นตรง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

MTE 426 การวิเคราะห์ตำแหน่ง พิเชษฐ์ พินิจ 1

เนื้อหาการเรียนการสอน การวิเคราะห์ตำแหน่งคืออะไร? (What is position analysis?) ระบบกรอบพิกัดอ้างอิง (Coordinate systems) ตำแหน่งและการกระจัด (Position and displacement) การเคลื่อนที่ (Motion) การวิเคราะห์ตำแหน่งเชิงกราฟิก (Graphical position analysis of linkages) การวิเคราะห์ตำแหน่งเชิงพีชคณิต (Algebraic position analysis of linkages) มุมการส่งถ่าย (Transmission angles)

การวิเคราะห์ตำแหน่งคืออะไร? กระบวนการซึ่งใช้กำหนดหาตัวแปรหรือมุมของชิ้นต่อโยงที่เป็นตัวตามของกลไกที่เป็นฟังก์ชั่นของตัวแปรหรือมุมของชิ้นต่อโยงที่เป็นตัวขับ

การวิเคราะห์ตำแหน่งสำคัญอย่างไร? การวิเคราะห์เพื่อการออกแบบและสร้างกลไกจำเป็นต้องทราบความเร็วและความเร่งของก้านต่อต่างๆ ในกลไกนั้นๆ ความเร็วและความเร่งสามารถกำหนดหาได้โดยการอนุพันธ์ตำแหน่งเทียบกับเวลา ความเร็วหาได้โดยการอนุพันธ์ตำแหน่งเทียบกับเวลาหนึ่งครั้ง ความเร่งหาได้โดยการอนุพันธ์ตำแหน่งเทียบกับเวลาสองครั้ง

ระบบกรอบพิกัดอ้างอิง ระบบกรอบพิกัดอ้างอิงถูกกำหนดขึ้นเพื่อความสะดวกในการวิเคราะห์ปัญหาทางวิศวกรรม กรอบอ้างอิงสัมบูรณ์ คือ กรอบอ้างอิงที่ไม่เคลื่อนที่ กรอบอ้างอิงสัมพัทธ์ คือ กรอบอ้างอิงที่เคลื่อนที่เทียบกับกรอบอ้างอิงอื่น กรอบอ้างอิงสัมบูรณ์ จะถูกเรียกว่า กรอบอ้างอิงเฉื่อย กรอบอ้างอิง XY คือ กรอบอ้างอิงสัมบูรณ์ กรอบอ้างอิง xy คือ กรอบอ้างอิงสัมพัทธ์

ตำแหน่งและการกระจัด 1 ตำแหน่ง คือ ระยะทางของจุดๆ หนึ่งในระบบพิกัดอ้างอิงโดยวัดจากจุดเริ่มต้นของระบบพิกัดอ้างอิงนั้นถึงจุดดังกล่าว ตำแหน่งสามารถอธิบายได้ด้วยเวกเตอร์ตำแหน่ง เวกเตอร์ตำแหน่งสามารถแสดงในรูปเชิงขั้วและคาร์ทีเซียน รูปแบบเชิงขั้ว: รูปแบบคาร์ทีเซียน:

ตำแหน่งและการกระจัด 2 การกระจัด คือ การเปลี่ยนแปลงไปของตำแหน่งของจุดในระบบอ้างอิงซึ่งสามารถแสดงได้ด้วยเส้นตรงที่ลากเชื่อมระหว่างจุดเริ่มต้นและจุดสุดท้ายของจุดนั้น การกระจัด เป็นปริมาณเวกเตอร์

การเคลื่อนที่ 1 การเลื่อนที่ คือ การเคลื่อนที่ที่ทุกจุดบนชิ้นต่อโยงหนึ่งๆ มีระยะกระจัดเท่ากัน

การเคลื่อนที่ 2 การหมุน คือ การเคลื่อนที่ที่ทุกจุดบนชิ้นต่อโยงหนึ่งๆ มีระยะกระจัดต่างกันโดยที่คู่หนึ่งๆของจุดดังกล่าวจะมีการกระจัดต่างกันเทียบกับจุดๆหนึ่ง

การเคลื่อนที่ 3 การเคลื่อนที่ซับซ้อน คือ การเคลื่อนที่ผสมระหว่างการเลื่อนที่กับการหมุน

การวิเคราะห์ตำแหน่งเชิงกราฟิก 1 การวิเคราะห์ตำแหน่งเชิงกราฟิก เป็นวิธีการวิเคราะห์หาตำแหน่งของชิ้นต่อโยงต่างๆ ที่ง่ายที่สุด หลักการของวิธีการวิเคราะห์ตำแหน่งเชิงกราฟิก ก็คือการวาดรูปกลไกที่ตำแหน่งหนึ่งๆ ที่สนใจ เนื่องจากค่ามุมของตัวขับ ความยาวของชิ้นต่อโยงต่างๆ ถูกกำหนดมาให้แล้ว ดังนั้นตัวแปรที่ไม่ทราบค่าอื่นก็สามารถหาค่าได้โดยการวัดด้วยอุปกรณ์การวัดต่างๆ เช่น ไม้บรรทัด หรือ ไม้โปรแทรกเตอร์ เป็นต้น

การวิเคราะห์ตำแหน่งเชิงกราฟิก 2 ลักษณะทางรูปร่างของกลไกสี่ชิ้นต่อโยง มีสองลักษณะ รูปร่างเปิด (Open configuration) รูปร่างปิด (Crossed configuration) รูปร่างตัด

การวิเคราะห์ตำแหน่งเชิงกราฟิก 3 จากข้อมูลที่กำหนดให้จงกำหนดหามุม และ ทั้งรูปร่างเปิดและตัดด้วยวิธีกราฟิก

การวิเคราะห์ตำแหน่งเชิงพีชคณิต ผลเฉลยรูปแบบปิด (Closed-form solution) ผลเฉลยแบบทำซ้ำ (Iterative solution)

มุมการส่งถ่าย กำหนดหาได้โดยความสัมพันธ์ระหว่างชิ้นต่อโยง กำหนดหาโดยใช้มุม และ ถ้า