อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ 3 ธ.ค.55

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักพัฒนาการเงินการคลังสาธารณสุข
Advertisements

การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
การจัดสรรงบประมาณ โครงการเด็กไทยเฉลียวฉลาด ประเทศชาติแข็งแรง
สถานการณ์ด้านการเงินการคลังจังหวัดกระบี่
สถานการณ์ด้านการเงินการคลัง
จ่ายค่าตอบแทนตามภาระงาน
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
สถานการณ์การเงินการคลัง
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังคน (CHRO)
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
แนวทางการบริหารจัดการระบบประกันสุขภาพ ในภาพรวม ปีงบประมาณ 2551
นโยบายการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อขับเคลื่อนการคลังภาคสุขภาพ
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
ประเด็น หลักที่ 4 การบริหาร จัดการระบบ สุขภาพ. 4.1 การ บริหาร การเงินการ คลัง CFO.
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
กองบัญชี สำนักการคลัง รับผิดชอบ ตัวชี้วัด ในมิติที่ 2
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 25 มิถุนายน 2551.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 มีนาคม 2551.
การวิเคราะห์แผนงบลงทุน ปี 2552 และแผนยุทธศาสตร์งบลงทุน ปี
การวิเคราะห์สถานการณ์การเงินการคลัง
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 สิงหาคม 2551.
การติดตามการใช้จ่าย งบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 มกราคม 2551.
การ บริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2552 รพ. บ้านลาด ณ 30 เมษายน 2552.
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
การบริหารการเงินการคลัง
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
การติดตามประเมินผล ปี 2552
สรุปการประชุม เขต 10.
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
โดยตัวชี้วัด FAI ประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลังระดับเขต/จังหวัด
การจัดทำหรือการอนุมัติ แผนงานหรือโครงการ โดยไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์
เป้าหมายการประชุม บูรณาการการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลใน รพ.สต.
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
สรุปผลงาน คณะกรรมการบริหารการเงินการคลัง(CFO) เขตบริการสุขภาพที่ 10
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
การส่งต่อนอกเขตบริการ (ลดลงร้อยละ 50)
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
เป้าหมาย ตัวชี้วัด กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2558
พัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการ
โครงสร้างระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน
การพัฒนาระบบการจ่ายค่าตอบแทนตามผลการปฏิบัติงาน และการประเมินผล
แนวทางการบริหารงบค่าบริการ แพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2556 สมชาย ชินวา นิชย์เจริญ.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการ
ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด : ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถ.
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ตัวชี้วัดผลงาน 1. มีการคณะกรรมการ หรือ คณะอนุกรรมการ.
หลักธรรมาภิบาลใน WP นพ. ฑิฆัมพร จ่างจิต ผอก. รพ. พาน.
ตัวชี้วัด 2 รายงานกิจกรรม สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง.
ปีงบประมาณ 2558 ครั้งที่ 2 การประชุม CFO จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.
ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด : ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ 3 ธ.ค.55 แนวทางการดำเนินงาน เพื่อแก้ปัญหาโรงพยาบาลที่ประสบภาวะวิกฤติทางการเงินปี 2556 อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ 3 ธ.ค.55

สถานการณ์ ไตรมาสที่ ๑ หน่วยบริการประสบภาวะวิกฤติ ในระดับรุนแรง(ระดับ ๗) จำนวน ๑๓๕ แห่ง ไตรมาสที่ ๒ หน่วยบริการประสบภาวะวิกฤติ ในระดับรุนแรง(ระดับ ๗) จำนวน ๑๒๙ แห่ง ไตรมาสที่ ๓ หน่วยบริการประสบภาวะวิกฤติ ในระดับรุนแรง(ระดับ ๗) จำนวน ๑๗๕ แห่ง * มีหน่วยบริการวิกฤติซ้ำซ้อน ตั้งแต่ปี 54 – 55 (ไตรมาส 3) 41 แห่ง

การให้คะแนนที่แสดงความวิกฤติ 7 ระดับ กลุ่มแสดงสภาพคล่อง Current Ratio น้อยกว่า 1.5 = 1 คะแนน Quick Ratio น้อยกว่า 1 = 1 คะแนน Cash & Cash Equivalence Ratio น้อยกว่า 0.8 = 1 คะแนน กลุ่มแสดงความมั่นคง ทุนสำรองสุทธิ Net working Capital เป็นลบ = 1 คะแนน รายได้สูง(ต่ำ)กว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ Net Incomeเป็นลบ = 1 คะแนน กลุ่มแสดงระยะเวลาการเข้าสู่ปัญหาการเงินรุนแรง NWC/ANI (ทุนสำรองสุทธิหารด้วย รายได้สูงต่ำกว่า ค่าใช้จ่ายสุทธิเฉลี่ยต่อเดือน) น้อยกว่า 3 เดือน = 2 คะแนน NWC/ANI (ทุนสำรองสุทธิ หารด้วยรายได้สูงต่ำกว่าค่าใช้จ่าย สุทธิเฉลี่ยต่อเดือน) อยู่ระหว่าง 3 – 6 เดือน = 1คะแนน

สาเหตุรพ.ขาดสภาพคล่องทางการเงิน 1. กลไกการจัดสรรที่ไม่เหมาะสม 2. โครงสร้าง สถานที่ตั้งของ รพ. 3. การบริหารจัดการที่ขาดประสิทธิภาพ

นโยบายผู้บริหาร 1. หน่วยบริการขาดสภาพคล่องทาง การเงิน (ลดลงต่ำกว่าระดับ 4) 2. ประสิทธิภาพการจัดการต้นทุน (หน่วยบริการร้อยละ 80 ต้องมีฐานข้อมูลต้นทุน) 3. ประสิทธิภาพระบบการควบคุมภายใน (จัดซื้อยา เวชภัณฑ์, เงินบำรุง, งบลงทุน)

ขั้นตอนการดำเนินงาน ส่วนกลาง - คณะกรรมการติดตาม กำกับและตรวจสอบหน่วยบริการที่ ประสบภาวะวิกฤติทางการเงิน - คณะทำงานประจำเขตเพื่อตรวจสอบบัญชีวิเคราะห์ข้อมูลหน่วยบริการที่ประสบปัญหา - จัดทำคู่มือการตรวจสอบบัญชีและวิเคราะห์ประสิทธิภาพ - สรุปผลการตรวจสอบ วิเคราะห์ ให้ข้อเสนอแนะต่อ คณะกรรมการ ฯ - สนับสนุนงบประมาณสำหรับการตรวจและการ ติดตามผลแห่ง 50,000 บาท

วัตถุประสงค์การตรวจ -เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพทางการเงินการคลังและการ บริหารงานของหน่วยงาน -เพื่อติดตาม กำกับ และตรวจสอบหน่วยบริการที่ประสบ ภาวะวิกฤติได้อย่างครอบคุลมทุกประเด็นปัญหา -เพื่อให้มีข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย สำหรับการวางแผนการ จัดงบประมาณอย่างเป็นธรรมและเหมาะสมในแต่ละพื้นที่

ขั้นตอนการดำเนินงาน ระดับเขต (สธน. เป็นประธาน) 1. จัดทีมลงตรวจสอบ และวิเคราะห์ 41 แห่ง และสรุปผล และเสนอต่อ คกก. ภายในเดือนธันวาคม 2555 2. ติดตามการจัดทำข้อมูล ส่วนที่ 3 ตรวจวิเคราะห์ประสิทธิภาพการบริหาร 134 แห่ง ภายในเดือนธันวาคม 2555 3. จัดทีมลงตรวจสอบ และวิเคราะห์ 134 แห่ง ภายในเดือน มีนาคม 2556 Download แบบฟอร์ม http://hfo.cfo.in.th ส่งข้อมูลทาง higmoph@gmail.com

ระดับหน่วยบริการ จัดเตรียมเอกสารส่วนที่ 1 สำหรับทีมลงตรวจสอบ จัดเตรียมเอกสารส่วนที่ 1 สำหรับทีมลงตรวจสอบ ประเมินตนเองตามส่วนที่ 2 ตรวจประเมินการควบคุมภายใน กรอกข้อมูลส่วนที่ 3 ตรวจวิเคราะห์ประสิทธิภาพการบริหาร

คู่มือ ตรวจสอบ มี 3 ส่วน 1 . ตรวจสอบบัญชี (ทีม Auditor) 2. ตรวจสอบระบบการควบคุมภายใน 3. ตรวจวิเคราะห์หน่วยบริการ (ทีม CFO)

ส่วนที่ 3 การตรวจวิเคราะห์หน่วยบริการโดย ผู้บริหารทางการเงิน CFO

ชุดที่ 1 1. 1 จำนวนเตียง และจำนวนประชากรที่รับผิดชอบ 1 ชุดที่ 1 1.1 จำนวนเตียง และจำนวนประชากรที่รับผิดชอบ 1.2 ข้อมูลบุคลากร 1.3 ตัวชี้วัดทางการเงินย้อนหลัง 3 ปี 1.4 ตัวชี้วัดประสิทธิภาพในการให้บริการ 1.5 แผนเพิ่มประสิทธิภาพ/มาตรการของ หน่วยงานที่ใช้เพื่อแก้ปัญหาเพื่อเสริมสภาพ คล่องทางการเงิน 1.6 สรุปความต้องการ หรือข้อเสนอเชิงนโยบายที่ ต้องการให้ส่วนกลางสนับสนุน

ชุดที่ 2 ประกอบด้วย 2.1 ข้อมูลบริการของหน่วยงาน 2.2 รายได้ 2.3 ค่าใช้จ่าย 2.4 แผนเงินนอกงบประมาณ 2.5 แผนงบลงทุน 2.6 การบริหารจัดการด้านยา 2.7 ทุนสำรองสุทธิ 2.8 มูลค่าการใช้ยา 2.8.1 มูลค่าการใช้ยาที่มีมูลค่าสูงสุด 2.8.2 มูลค่าการใช้ยานอกบัญชียาหลักที่มีมูลค่าสูงสุด

ข้อสังเกตในการกรอกข้อมูลส่วนที่ 3 ชุดที่ 1 ชุดที่ 2

บทสรุปผู้บริหาร การตรวจสอบเพื่อพัฒนาการเงินการคลังและการบริหารจัดการหน่วยบริการ เขต....... จังหวัด................โรงพยาบาล....................................   ส่วนที่ 1 การตรวจสอบรายงานการเงินและบัญชีหน่วยบริการในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 1.1 ผลคะแนน(ร้อยละ) 1.2 รายงานผลการตรวจสอบ (เฉพาะประเด็นที่สำคัญ) 1.3 สรุปความเห็นและข้อเสนอแนะของ Auditor เพื่อการแก้ปัญหา ส่วนที่ 2 ระบบการควบคุมภายใน 2.1 ผลคะแนน (ร้อยละ) 2.2 รายงานผลระบบการควบคุมภายในที่ตรวจพบ (เฉพาะประเด็นที่สำคัญ) 2.3 สรุปความเห็นและข้อเสนอแนะของทีมตรวจระบบการควบคุมภายในเพื่อ การแก้ปัญหา ส่วนที่ 3 การตรวจวิเคราะห์หน่วยบริการโดยผู้บริหารทางการเงิน CFO 3.1 สรุปภาพรวมที่ผ่านมา และแนวโน้มในรายการสำคัญ โดยดูข้อมูลชุดที่ 1 3.2 สรุปภาพรวมที่ผ่านมา และแนวโน้มในรายการสำคัญ โดยดูจากข้อมูล ชุดที่ 2

สรุปความเห็นของหัวหน้าทีมตรวจ ส่วนที่ 4 ความเห็นของหัวหน้าทีมตรวจต่อหน่วยบริการ 4.1 ควรให้ความช่วยเหลือทางการเงิน ไม่มีเงื่อนไข (กรณีที่เห็นว่าหน่วยบริการมีประสิทธิภาพในการบริหาร จัดการที่เหมาะสมแล้ว) มีเงื่อนไข ดังนี้ 4.2 ไม่ควรให้ความช่วยเหลือ เนื่องจาก ...................................................................................... 4.3 อื่นๆ...................................................................................... ส่วนที่ 5 ข้อเสนอเชิงนโยบายที่ต้องการให้กระทรวงสาธารณสุข สนับสนุนหรือเร่งดำเนินการ

คณะจัดทำคู่มือ นพ.บัญชา ค้าของ สสจ. ภูเก็ต นพ.สามารถ ถิระศักดิ์ ผอ.รพ.ทับสะแก นพ.ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย สำนักพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ นายวรรณ บุตรนิล รพ.ขอนแก่น นายดนุภพ ศรศิลป์ รพ.สรรพสิทธิประสงค์ นางน้ำผึ้ง คงแผน รพ.สมเด็จพระพุทธเลิศหล้า นางนฬญา ดำรงคะวิริยะพันธ์ กลุ่มตรวจสอบภายใน สป. เจ้าหน้าที่กลุ่มงานพัฒนาระบบการเงินการคลัง กลุ่มประกันสุขภาพ