Max - (u’ s+ v’ e) w.r.t.  Y  - Y = s (output slack) X – X  i = e (excess input)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวิเคราะห์และใช้รหัส ICD ให้ได้ผลประโยชน์สูงสุด
Advertisements

Dr.Tunt Chomchuen University of Chiangrai
นพ.ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย
พิมพ์ชื่อบริษัทหรือหน่วยงาน
โปรแกรมรหัสข้อมูลสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิ
การใช้โปรแกรม Hospital Cost Analysis (พัฒนาโดย รศ.นพ.กำจร ตติยกวี)
ส่วนเกินของผู้บริโภค (consumer surplus)
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ระบบเทคโนโลยี Technology System
Research Mapping.
แนะนำวิทยากร.
สถานการณ์ด้านการเงินการคลังจังหวัดกระบี่
สถานการณ์ด้านการเงินการคลัง
จ่ายค่าตอบแทนตามภาระงาน
กลุ่ม 2 กำหนดมาตรฐานยา รพ.ทบ..
(Sensitivity Analysis)
Efficiency & Economy DRMC. ทางเลือก INPUTS OUTPUTS Land, Labor, Capital Consumer Goods Defense Goods Investment Items, etc..
บริการปฐมภูมิ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล
Work Shop การประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของ มฟล. (VFM)
การติดตาม และประเมินโครงการ.
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
วิธีการทางวิทยาการระบาด
- แผนงานที่ไม่มีโครงการจะเป็นแผนงานที่ไม่มีความสมบูรณ์ ไม่สามารถนำไปปฏิบัติเป็นรูปธรรม
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
จากการสังเกต นำไปสู่คำถามวิจัย นำไปสู่สมมติฐาน
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
การจัดทำ Research Proposal
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
มาตรฐานทางการเงิน 7 ด้าน
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 25 มิถุนายน 2551.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 สิงหาคม 2551.
วิธีการตรวจสอบ Content Validity
ปัญหา ช่องว่างค่าตอบแทน เมื่อเทียบกับสาธารณสุข กทม. เอกชน
การออกแบบการวิจัย (Research Design)
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
แนวทาง/เครื่องมือในการคาดการณ์ความต้องการและอุปทานกำลังคน
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
ขั้นตอนการวิเคราะห์ การกำหนดโจทย์/ ประเด็นที่ต้องการทดสอบ – ต้องมีความชัดเจน การศึกษาข้อมูลเบื้องต้น การกำหนดกรอบการวิเคราะห์ การเลือกใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
คู่มือการพัฒนาคุณภาพ HA SPA SAR 2011 HA Scoring Guideline 2011
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
การเขียนเหตุผลการจัดทำ แผนงบลงทุน. อาคารรักษา เป็น โรงพยาบาลขนาด เตียง พัฒนา ระบบบริการด้าน สอดคล้องกับ service plan……….. มีผู้ป่วยนอก
คู่มือการบันทึกข้อมูล 7 แฟ้ม กลุ่มข้อมูลการส่งต่อผู้ป่วย
กรอบการพัฒนาตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน (KPI)
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
Demand in Health Sector
การวางแผนยุทธศาสตร์.
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
เทคโนโลยีกับศาสตร์ จากความหมายของคำว่า "วิทยาศาสตร์" และความหมายของคำว่า "เทคโนโลยี" ที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นว่า วิทยาศาสตร์เป็นความรู้ที่นำไปใช้อธิบายได้ว่า.
การนำเสนอคำของบดำเนินงานโครงการปี 2559
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
บทที่ 3 กระบวนการวิจัยตลาดและการกำหนดปัญหาการวิจัย
บทที่ 8 การวิจัยเชิงพรรณนา : การสำรวจ
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การเขียนโครงการ.
E D E,C 1 D E,C 1,C 2,C 3 D ตัวแปรต้น ตัวแปร ตาม ตัวแปรอิสระ แทนด้วย X X 1, X 2,... X k D ตัวอย่าง : X 1 = E X 4 = E*C 1 X 2 = C 1 X 5 = C 1 *C 2 X 3 =
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
การวิเคราะห์อัตรากำลัง สายงานพยาบาล
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Max - (u’ s+ v’ e) w.r.t.  Y  - Y = s (output slack) X – X  i = e (excess input)

Cost1: ต้นทุนบุคลากร หน่วย ล้านบาทต่อปี Cost2: ต้นทุนดำเนินการ หน่วย ล้านบาทต่อปี Cost3: ต้นทุนรวม หน่วย ล้านบาทต่อปี Op1: จำนวนผู้ป่วยนอกที่ให้บริการ หน่วย คนวัน ต่อปี Op2: จำนวนผู้ป่วยนอก ( กรณีส่งต่อ ) หน่วย คน วันต่อปี Op3: จำนวนผู้ป่วยนอก ( กรณีรับ ) หน่วย คนวันต่อ ปี

คำถาม คือ 1. การ specify model สอดคล้องกับความเป็นจริง ในทางปฏิบัติหรือไม่ 2. ควรนำตัวแปรที่มีผลต่อการ ผลิตบริการสุขภาพเข้ามา วิเคราะห์เพื่อสะท้อนต้นทุนที่ เกิดขึ้นหรือไม่

Model  Maximize OP / Minimize COST Practice  allocate resources responding to need OP มากๆ / COST ต่ำๆ อาจไม่ ตอบสนอง health need ได้ ประสิทธิผลและประสิทธิภาพไม่ เกิดขึ้น

COST มีความเฉพาะเจาะจงกับ OP มาก หากไม่สามารถระบุ COST ที่ใช้ใน การผลิตบริการสุขภาพประเภท ต่างๆได้ จะก่อให้เกิด cross- subsidization ระหว่าง OP ได้ ในอดีต COSTING ใช้แบบ PER DIEM ( ดูรูปที่ 1)

ในปัจจุบัน ใช้วิธีการ COSTING ที่ ได้ OP สอดคล้องกับ COST เช่น activity-based costing ตัวอย่างเช่น  IPD ใช้ DRG, HRG, CMG  OPD ใช้ APC, ACCS ( ดูรูปที่ 2)

COSTING ที่สะท้อน RESOURCES ที่ใช้ในการผลิต OP ได้ต้องอาศัย การ allocate overhead costs หากทำให้ allocation มีความ ละเอียดมากเท่าไร จะสามารถระบุ และลด excess inputs ได้ รวมทั้งเพิ่ม output slack ได้ ( ดูรูปที่ 3)

เนื่องจาก demand for hospital services เป็น derived demand ของ demand for health OP ขึ้นอยู่กับตัวแปรที่กำหนด health ด้วย ในทางปฏิบัติ demand for health แทนด้วย utilization ซึ่งกำหนด โดย income, deprivation, age- sex structure

COST variation ในแต่ละพื้นที่ทำ ให้มี unit cost ที่ต่างกันได้ แต่ มิใช่เป็นการผลิตที่ด้อย ประสิทธิภาพ OP ของโรงพยาบาลบางประเภท ให้ผลต่างกัน เช่น preventive care และ health promotion จะ ทำให้ประชากรต้องการ curative care ลดลง จะ compromise อย่างไรระหว่าง รพ. ที่มีสัดส่วนบริการเหล่านี้ที่ ต่างกัน

DEA จะใช้ได้ดีกับการวิเคราะห์ โครงการบริการสุขภาพที่ ความสัมพันธ์ระหว่าง OP กับ COST ชัดเจน เช่น การผ่าตัดหัวใจ การควบคุมไขมันในเส้นเลือด ใน DEA model ควรเพิ่ม Constraints ที่เกี่ยวข้องกับการ ผลิตและ utilization ที่สะท้อน บริบทที่วิเคราะห์อยู่