กรณีศึกษา ลุ่มน้ำปะเหลียน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”
Advertisements

ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
บูรณาการสู่ความสำเร็จ
สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
โครงงานสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพบริเวณป่าชายเลนบ้านอำเภอ
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
กิจกรรม CoP “ รักษ์ป่าศึกษาธรรมชาติ ” อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี วันพุธที่ 8 กันยายน 2553.
แผนแม่บทงานวิจัย การสร้างเครือข่าย และการสนับสนุนงานวิจัยเชิงพาณิชย์
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
องค์กรภาครัฐในส่วนกลางในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
โครงการค่ายเรียนรู้คุณธรรม นำชีวิตพอเพียง ปี 2550
สรุปโครงสร้างของ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ประมวลภาพ โครงการติดตามประเมินผล การปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบภายในจังหวัด ระยะที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กลุ่มที่ 5 จังหวัดตรัง.
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
กรมการพัฒนาชุมชน พันธกิจ วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์
ของฝากจากอาจารย์อ้อชุดที่28
ของฝากจากอาจารย์อ้อ ชุดที่ 30
แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2554
ประเด็นที่ 1 ให้ทบทวนโยบายแนว ทางการดำเนินงานที่ ผ่านมา ของ ส. ป. ก. พร้อมทั้งวิเคราะห์ ปัญหาอุปสรรค และ แนวทางแก้ไข 1. กิจกรรมการจัดที่ดินและคุ้มครองพื้นที่
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
มติ ครม.19 มิถุนายน 2550 เห็นชอบ
การประชุมผู้บริหารกรมทรัพยากรน้ำ ครั้งที่ 9/2549 ระเบียบวาระที่ 4.4 การจัดทำคำของบประมาณจาก กองทุนสิ่งแวดล้อมเพื่อการฟื้นฟู อนุรักษ์แหล่งน้ำ ธรรมชาติ การจัดทำข้อเสนอโครงการเพื่อ.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
ชูศักดิ์ วิทยาภัค คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กลุ่มที่ 6 วัดเขาทุเรียน ( วัดสีชมพู ) สุดยอดส้วม ระดับประเทศปี 2552 ประเภท ศาสนสถาน.
การจัดตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล
การแปลงนโยบายและแผน นำสู่การปฏิบัติ
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
การศึกษาวิจัย เรื่อง ผู้วิจัย นายอภิวิชญ์ ปีนัง
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
การจัดทำแผนชุมชน.
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กรณีศึกษา ลุ่มน้ำปะเหลียน นายชล บุนนาค อาจารย์ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Outline ภาพรวมทรัพยากรธรรมชาติของลุ่มน้ำปะ เหลียน ความเป็นมาเกี่ยวกับการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติในเขตชุมชนบ้านแหลม จนถึงปัจจุบัน การวิเคราะห์โครงสร้างเชิงอำนาจในการ จัดสรรทรัพยากรธรรมชาติ: กรณีศึกษาในเขต ชุมชนบ้านแหลม และลุ่มน้ำปะเหลียน

อ.เมือง อ.นาโยง อ.ย่านตาขาว อ.กันตัง อ.ปะเหลียน กิ่งอ.หาดสำราญ

ปู ปลา และหอยชนิดต่างๆ ไม้ชายเลนชนิดต่างๆ ระบบนิเวศน์เชิงซ้อน Complex Ecology ป่าต้นน้ำ ลุ่มน้ำจืด ปู ปลา และหอยชนิดต่างๆ แหล่งอนุบาลสัตว์น้ำ ลุ่มน้ำกร่อย ชายฝั่งทะเล เกาะแก่ง แหล่งน้ำจืด v

ระบบนิเวศน์เชิงซ้อน Complex Ecology ลุ่มน้ำกร่อย แหล่งน้ำจืด แหล่งน้ำจืด

ลักษณะเด่นของชุมชนบ้านแหลม ชาวบ้านส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม แต่ละคนมีอาชีพหลากหลาย ประมง เป็นอาชีพพื้นฐานเพียงพอสำหรับยังชีพ ทั้ง ในด้านความมั่นคงทางอาหาร และรายได้พื้นฐาน ทรัพยากรสำคัญของบ้านแหลม คือ หอยนางรม, หอยปะ, ปูดำ, ป่าชายเลน (ป่าโกงกาง,ต้นจาก)

หอยนางรม

หอยปะ (หอยตลับ)

ปูดำ

ปูม้า

ความเป็นมาเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในเขตบ้านแหลม สัมปทานป่า ชาวบ้านตื่นตัวเรื่องอนุรักษ์ บุกรุกป่าชายเลนทำนากุ้ง 2538 สมาคมหยาดฝน ตั้งกลุ่มอนุรักษ์หอยนางรม

สมาคมหยาดฝน องค์กรพัฒนาเอกชนในจังหวัดตรัง ตั้งเมื่อปี 2527 ทำงานเรื่องแก้ปัญหาความ ยากจนในพื้นที่ อ.สิเกา จ.ตรัง พบว่าการทำให้ชุมชนเรียนรู้และสามารถ จัดการทรัพยากรของตนได้ทำให้ชุมชนที่ ยากจนมีความมั่นคงทางอาหารและยืนได้ด้วย ตนเอง

สมาคมหยาดฝน วัตถุประสงค์ สร้างกระบวนการเรียนรู้ให้แก่ชุมชนเกี่ยวกับ ทรัพยากรและภูมิปัญญาท้องถิ่น ส่งเสริมให้ชุมชนสามารถบริหารจัดการทรัพยากร ด้วยตนเองได้ อำนวยความสะดวกให้เกิดเครือข่ายระหว่างชุมชน เพื่อร่วมกันอนุรักษ์ทรัพยากรในเขตลุ่มน่ำปะเหลียน

สมาคมหยาดฝน ทำงานทั้งระดับพื้นที่ และระดับนโยบาย ช่วยชาวบ้านเชื่อมเครือข่ายกับ สถาบันการศึกษาเพื่อยกระดับความรู้ของ ชาวบ้าน เชื่อมเครือข่ายกับองค์กรที่ทำงานอนุรักษ์พื้นที่ ชุ่มน้ำระหว่างประเทศ / ช่วยเหลือผลักดันงาน ระดับประเทศ เป็นที่นับน่าถือตาในระดับจังหวัดตรัง

กลุ่มอนุรักษ์หอยนางรม เป็นกลุ่มอนุรักษ์กลุ่มแรกของบ้านแหลม สมาคมหยาดฝนลงมาช่วยเสริมการเรียนรู้ให้ แกนนำ กลุ่มร่วมกันวางกติกาการอนุรักษ์หอยนางรม บริเวณพื้นที่หน้าหมู่บ้าน โดยสมาคมฯให้การ สนับสนุน

แผนที่เดินดินชุมชนบ้านแหลม บ้านคน ร้านค้า โรงเรียน มัสยิด ป่าโกงกาง ควน/เกาะ นากุ้ง

กลุ่มอนุรักษ์หอยนางรม บ้านแหลมกลายเป็นสมาชิกเครือข่ายอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติลุ่มน้ำปะเหลียน กลุ่มได้มีการทำงานร่วมกับโรงเรียนบ้านแหลม ใน การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น ครอบคลุมเรื่องหอย นางรม น้ำ และป่าชายเลน หลังจากกลุ่มอนุรักษ์หอยนางรม จึงนำมาซึ่งกลุ่ม ต่างๆในชุมชน เช่น กลุ่มป่าชายเลนชุมชน

ความเป็นมาเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในเขตบ้านแหลม รธน. 2540 RAMSAR 2538 2540 โครงการป่าเฉลิมพระเกียรติฯ 2541 จะตั้งป่าชายเลนชุมชน แต่ติดป่าจากส่วนบุคคล 2544 2545 ป่าชายเลนชุมชนบ้านแหลม

ความแตกต่างระหว่างป่าชุมชนและป่าเฉลิมพระเกียรติฯ เน้นแต่งสาง ปลูกเสริม รักษาและฟื้นฟูระบบ นิเวศน์ในป่าชายเลน มีไม้หลายชนิด เช่น โกงกาง จาก ตะบูน ฯลฯ ชาวบ้านใช้ประโยชน์ จากป่าได้ ป่าเฉลมพระเกียรติฯ เน้นตัด เผาทิ้งแล้ว ปลูกใหม่ ปลูกไม้ชนิดเดียวแบบ เป็นแถวเป็นแนว หน้า แน่น ไม่ให้ชาวบ้านใช้ ประโยชน์/ชาวบ้านใช้ ประโยชน์ไม่ได้

ความเป็นมาเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในเขตบ้านแหลม ในหมู่บ้านขัดแย้งกัน งานอนุรักษ์ซบเซา วิกฤตหอยปะ 2546 แกนนำกลุ่มอนุรักษ์ได้รับเลือกเป็นผู้ใหญ่บ้าน กลุ่มอนุรักษ์หันไปทำงานกับโรงเรียน 2549 2550 โรงเรียนบ้านแหลมได้รางวัลลูกโลกสีเขียว เทศกาลหอยนางรม บ้านแหลมครั้งที่ 1

กรอบในการพิจารณา สถาบันระหว่างประเทศ ประเทศ สถาบันภายในประเทศ รัฐส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค อปท. ภาคเอกชน ชุมชน NGOs ท้องถิ่น

มีผู้เล่นทั้งหมด 5 ฝ่าย ในระดับท้องถิ่น รัฐ ภาคเอกชน ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น NGOs ข้อ 1 เป็นผู้มอบกรรมสิทธิ์ ข้อ 2-4 เป็นผู้เล่นที่แย่งชิงกรรมสิทธิ์ในการ จัดการทรัพยากร ข้อ 5 เป็นผู้ตรวจสอบและช่วยเหลือ

สถาบันระหว่างประเทศ สถาบันภายในประเทศ กฎกติกาต่างๆ เช่น สนธิสัญญา ข้อตกลง เป็นต้น โลกาภิวัฒน์และตลาด สถาบันภายในประเทศ รัฐธรรมนูญ พรบ. กฎกติกาว่าด้วยกรรมสิทธิ์ ในการจัดการทรัพยากร , แผนพัฒนาฯ, นโยบาย กลไกตลาดภายในประเทศ

รัฐ ส่วนกลาง ภูมิภาค มีเป้าหมาย เพื่อประโยชน์ของสังคม (ในทาง ทฤษฎี) เป็นผู้บังคับใช้และปฏิบัติตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ แผนการพัฒนา นโยบาย สามารถจัดการทรัพยากรเองได้ตามกฎหมายกำหนด มีอำนาจในการมอบหรือให้ความชอบธรรมใน กรรมสิทธิ์ในการจัดสรรทรัพยากร ตามกฎหมาย และอำนาจหน้าที่

ภาคเอกชน เป้าหมาย : Maximize Profit ทรัพยากร: เงินทุน (อำนาจเชิงเศรษฐกิจ) มีบทบาทในการแย่งชิงกรรมสิทธิ์ในการจัดสรร ทรัพยากรมาตั้งแต่ในยุคสัมปทาน โลกาภิวัฒน์มีผลในการเสริมทรัพยากรเชิงอำนาจ

ชุมชน เป้าหมาย: เพื่อการใช้ชีวิตอย่างยั่งยืนและพอเพียง ทรัพยากร: ความรู้, ทุนทางสังคม บทบาทของชุมชนในลักษณะนี้ยังไม่ชัดเจน จนกระทั่งปลายทศวรรษ 2530 สนธิสัญญาระหว่างประเทศบางอย่าง และ NGOs มีส่วนเสริมทรัพยากรเชิงอำนาจของชุมชน

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป้าหมาย: เพื่อประโยชน์สุขของชุมชน (ทฤษฎี) ทรัพยากร: ทุนทางสังคม, เงินทุน, อำนาจตาม กฎหมาย บทบาทของอปท.ยังไม่เกิดขึ้นจนกระทั่งปี 2540 รัฐธรรมนูญ และพรบ.ที่เกี่ยวข้องกับการปกครอง ส่วนท้องถิ่นจะเป็นตัวเสริมทรัพยากรเชิงอำนาจ

องค์กรพัฒนาเอกชน (NGOs) ไม่ได้เป็นผู้เล่นในการแย่งชิงกรรมสิทธิ์ มักมีบทบาทเป็นผู้ตรวจสอบและ/หรือ ทำงาน ร่วมกับ ภาครัฐ, อปท. และภาคเอกชน มีบทบาทเป็นผู้ช่วยส่งเสริมชุมชนในด้านต่างๆ เช่น กระบวนการเรียนรู้, สร้างทุนทางสังคม (เครือข่าย), ยกระดับองค์ความรู้ เป็นต้น

กรณีศึกษา: สัมปทานป่า สถาบันระหว่างประเทศ สถาบันภายในประเทศ รัฐส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค อปท. ภาคเอกชน ชุมชน NGOs

กรณีศึกษา: สัมปทานป่า กรณีนี้เกิดขึ้นมาแต่อดีตจนปี 2545 ก่อนปี 2540 อปท.ยังไม่เกิดขึ้นและไม่มีการ รับรองสิทธิชุมชน การเคลื่อนไหวของชุมชนยังไม่ชัดเจนนักจน ทศวรรษที่ 2530 กฎหมายเปิดทางให้เอกชนเข้ามาแย่งชิง สัมปทาน ใครมีเงินทุน (อำนาจทางเศรษฐกิจ)มากกว่า (ทั้งแบบโปร่งใสและไม่โปร่งใส) เป็นผู้ได้ กรรมสิทธิในการจัดการทรัพยากรจากรัฐ

กรณีศึกษา:หอยนางรมบ้านแหลม สถาบันระหว่างประเทศ สถาบันภายในประเทศ รัฐส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค อปท. ภาคเอกชน ชุมชน NGOs

กรณีศึกษา:หอยนางรมบ้านแหลม กรณีนี้เกิดขึ้นในช่วงปี 2537-2550 ช่วงปี 2537: ประมงอำเภอจะให้สัมปทานจับ หอยนางรมบริเวณบ้านแหลมแก่เอกชน ชุมชนเกิดตื่นตัวอยากอนุรักษ์หอยนางรมไว้ NGOs (สมาคมหยาดฝน) เข้ามาสร้าง กระบวนการเรียนรู้ทรัพยากรของตน, เชื่อม เครือข่าย และร่วมสร้างและส่งเสริมทักษะใน การจัดการทรัพยากรแก่ชุมชน

กรณีศึกษา:หอยนางรมบ้านแหลม เมื่อชุมชนแสดงศักยภาพดังกล่าว กรมประมง จึงให้ชุมชนบ้านแหลมดำเนินการอนุรักษ์หอย นางรมต่อไป ปี 2540 รัฐธรรมนูญ มีบทบัญญัติที่รับรอง สิทธิชุมชน

กรณีศึกษา:หอยนางรมบ้านแหลม ปี 2550 บ้านแหลมจัดกิจกรรม เทศกาลหอย นางรมบ้านแหลมครั้งที่ 1 เชิญผู้ว่าฯมาเปิด งาน ผู้ใหญ่บ้านและเครือข่ายชุมชนนำเสนอ เรื่องราวทรัพยากรในลุ่มน้ำเอง ผู้ว่าฯตอบรับดี ต้องการศึกษาเพิ่มเติม และ สนับสนุนกิจกรรมของชาวบ้านต่อไป อบต.ไม่เข้าร่วมเพราะอยู่ฝ่ายตรงข้ามกับ ผู้ใหญ่บ้านที่สนับสนุนงานอนุรักษ์

สรุป-กรณีศึกษา:หอยนางรมบ้านแหลม ความรู้ในทรัพยากรและธรรมชาติ และทุนทาง สังคม (เครือข่าย) เป็นทรัพยากรเชิงอำนาจใน การต่อรองให้ได้รับสิทธิ์ในการจัดการ ทรัพยากร การตอบรับของประมงอำเภอ และผู้ว่าฯ เป็น การให้ความชอบธรรมแก่สิทธิ์ของชุมชน ตราบใดที่ยังไม่มีกฎหมายรับรองสิทธิของ ชุมชน การดำรงความรู้ ทุนทางสังคม และการ ให้ความชอบธรรมในสิทธิ์ทางอ้อมจากรัฐ ผ่าน รุ่นต่อรุ่นนั้นจำเป็น

กรณีศึกษา:นิคมอุตสาหกรรมบ้านทุ่งค่าย สถาบันระหว่างประเทศ สถาบันภายในประเทศ รัฐส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค อปท. ภาคเอกชน ชุมชน NGOs

กรณีศึกษา:นิคมอุตสาหกรรมบ้านทุ่งค่าย กรณีดังกล่าวเริ่มมีความตื่นตัวเมื่อต้นปี 2550 ที่ผ่านมา บ้านทุ่งค่ายเป็นเขตต้นน้ำ นิคมอุตสาหกรรมเป็นโครงการร่วมระหว่าง ภาคเอกชนกับอบจ.ตรัง มีจุดมุ่งหมายเรื่อง การจ้างงาน และการลงทุนในจังหวัดเป็น หลัก โลกาภิวัตน์ การวัดความเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจเป็นหลักและการค้า/การลงทุนเสรี เป็นตัวเร่งที่สำคัญ

กรณีศึกษา:นิคมอุตสาหกรรมบ้านทุ่งค่าย ฝั่งชุมชนและ NGOs ไม่เห็นด้วย และ เรียกร้องให้มีการทำประชาพิจารณ์อย่าง จริงจัง เห็นว่าจะไม่สามารถควบคุมมลพิษได้ และ ส่งผลเสียต่อระบบนิเวศน์ทั้งลุ่มน้ำ ชุมชนและ NGOs ใช้พลังความรู้ในเชิง สิ่งแวดล้อมและสิทธิตามกฎหมายของตน ทุนทางสังคม และอำนาจจากเงื่อนไขใน สนธิสัญญา RAMSAR มาเป็นทรัพยากรเชิง อำนาจในการต่อรอง

สรุปกรณีศึกษา:นิคมอุตสาหกรรมบ้านทุ่งค่าย เหตุการณ์นี้ยังดำเนินอยู่ ทั้งฝั่งภาคเอกชนและอบจ. และฝั่งชุมชนและ NGOs ต่างใช้ประโยชน์จากโครงสร้างสถาบันทั้ง ภายในและภายนอกประเทศที่เปลี่ยนแปลงไป การแย่งชิงดังกล่าว ส่วนหนึ่งเกิดจากความไม่ ชัดเจนในกติกาว่าด้วยสิทธิในการจัดการ ทรัพยากร

สรุปกรณีศึกษา:นิคมอุตสาหกรรมบ้านทุ่งค่าย การมีกฎหมายว่าด้วยสิทธิชุมชนในการจัดการ ทรัพยากร + กระบวนการเรียนรู้ => ความ ยั่งยืนในการจัดการทรัพยากรของชุมชน => ความพอเพียงและยั่งยืนในการดำรงชีพของ ชุมชน