โครงการพัฒนาบุคลากรและทีมบริหารด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล ไบโอ (BIO)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ห้องประชุมสานฝัน โรงพยาบาลสังขะ
Advertisements

โรงพยาบาล เบอร์ 5.
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
โครงการรณรงค์การจัดการสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
DIMMER HOSPITAL.
โครงการพัฒนาบุคลากรและทีมบริหารด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล ลดใช้
โครงการพัฒนาบุคลากรและทีมบริหารด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล ปลดหลอด.
โครงการพัฒนาบุคลากรและทีมบริหารด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล ลดใช้
รายชื่อสมาชิกภายในกลุ่ม รพ หารสอง
โรงพยาบาลชั้นนำ ที่มีคุณภาพ สร้างสังคมสุขภาวะอย่างยั่งยืน
โรงพยาบาลถอดปลั๊ก เบอร์หนึ่งด้านพลังงาน บริการเป็นเยี่ยม
โครงการพัฒนาบุคลากรและทีมบริหารด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล ควบคุม.
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
การบริหารความเสี่ยง และการวางระบบควบคุมภายใน
ประชุมคณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน มหาวิทยาลัยมหิดล
การประชุมนำเสนอผลการปฏิบัติงานโครงการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2550
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
การจัดการกระบวนการภายในเพื่อโครงการทดลองจ่ายค่าตอบแทนตาม ผลการปฏิบัติงาน โรงพยาบาลพาน.
ราชบุรี, สุพรรณบุรี นครปฐม, กาญจนบุรี
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
27 ตุลาคม 2551 ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การประชุมคณะกรรมการพัฒนาตัวบ่งชี้เพื่อการ
คณะกรรมการ “รวมพลังศรีปทุมหารสอง”
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
โครงการส่งเสริมการออมภาคครัวเรือนเกษตรกร ด้วยเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
ยินดีต้อนรับผู้เข้าสัมมนาทุกท่าน
ทีมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
(ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน )
1 (ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน ) ว่าด้วยการเสนอ และการพิจารณาอนุมัติโครงการ.
รับนโยบาย “ การบริหารคลังเดียว”
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ
ประกาศอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน เรื่อง กำหนดคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข วัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องจักรที่มีผลต่อการประหยัดพลังงาน.
ประกาศอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษ์พลังงาน เรื่อง กำหนดคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการขอรับรองกิจการบริการด้านการจัดการพลังงาน (Energy.
ประกาศอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานเรื่อง กำหนดคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข วัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องจักรที่มีผลต่อการประหยัดพลังงาน.
ประกาศอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานเรื่อง กำหนดคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข วัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องจักรที่มีผลต่อการประหยัดพลังงาน.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศอธิบดีกรมพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน เรื่อง กำหนดคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ของวัสดุ
ประกาศอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานเรื่อง กำหนดคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข วัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องจักรที่มีผลต่อการประหยัดพลังงาน.
วาระที่ 3.5 การขอสนับสนุนงบประมาณ จากกองทุนสิ่งแวดล้อม
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
ขั้นตอนการบริหารกิจกรรม 5ส
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ปี 2556
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
มีอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวง
กลุ่ม A3 ข้าวนก.
การจัดการสถานการณ์ในภาวะวิกฤติ เพื่อรองรับการชุมนุมประท้วง
กระบวนการกลุ่ม เครือข่ายการตลาด
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
มาตรการประหยัดพลังงาน
แผนกลยุทธ์ 5 ด้าน งานซ่อมบำรุง โรงพยาบาลศิริราช
ประกาศอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน เรื่อง กำหนดคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ของวัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องจักร ที่มีผลต่อการประหยัดพลังงาน.
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มที่ 3 ภาคกลาง
หมวด ข. การมีส่วนร่วม.
โครงการ สทส. “สุขที่สุด”.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
กลุ่ม 9 การพัฒนา บุคลากรของ สหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร.
โดย ดวงวรพร สิทธิเวทย์ ภารกิจ นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัย (Office of Research Policy and Strategy)
ประกาศอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานเรื่อง กำหนดคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข วัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องจักรที่มีผลต่อการประหยัดพลังงาน.
การปรับเปลี่ยนลูกจ้าง ชั่วคราวเข้าสู่การเป็น พนักงานกระทรวง สาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการพัฒนาบุคลากรและทีมบริหารด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล ไบโอ (BIO)

คณะกรรมการโรงพยาบาล “ไบโอ” ที่ปรึกษา : อาจารย์อภิรักษ์ สกุลพงษ์

คุณสมเพชร แสงศรีจันทร์ ประธานคณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน ผู้ช่วยเลขาฯ รองประธาน เลขาฯ อาจารย์ที่ปรึกษา คุณกรุณา สมพงษ์ อ.อภิรักษ์ สกุลพงษ์ คุณอภิชาต ปัญญาปุ๊ด คุณประชา ปาจิตร คุณวิมลรัตน์ ฉัตรศรีวงศ์ คณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน ฝ่ายธุรการ/ประชาสัมพันธ์ ฝ่ายอาชีวอนามัย ฝ่ายประเมินและติดตามผล ฝ่ายช่างเทคนิค คุณณัฐชัย สนธิเณร คุณประยูร ชุ่มใจ คุณอัศวิน แก้วสิงห์ คุณสมเพชร แสงศรีจันทร์ คุณสิทธิพงษ์ ทับทิม คุณธนภณ คล่องศาสตร์ คุณอารีย์ หมั่นทองทลาง คุณศรัทธา หรัญรัตน์

นโยบายอนุรักษ์พลังงานของ รพ.ไบโอ 1. ลดการใช้พลังงานทุกประเภทและใช้อย่างประหยัดพลังงานปี 2556 ได้อย่างน้อย 10% และปี2557ต่ำกว่าปี 2555 ได้อย่างน้อย 15% และเป็นเรื่องสำคัญที่ทุกคนต้องถือปฏิบัติ การอนุรักษ์พลังงานถือเป็นความรับผิดชอบของเจ้าหน้าทุกระดับโดยเน้นให้มีจิตสำนึกในการใช้พลังงานอย่างคุ้มค่า 2. ดำเนินการบริหารจัดการ 8 ขั้นตอนในการอนุรักษ์พลังงานตามกฎหมายอย่างเคร่งครัดและต่อเนื่อง 3. ถ่ายทอดและเผยแพร่การอนุรักษ์พลังงานสู่ชุมชน 4.

พื้นที่ดำเนินการ BACKOFFICE

พื้นที่ดำเนินการ CHILLER

พื้นที่ดำเนินการ WARD 10

ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM                 

ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM 1.นโยบายการจัด การพลังงาน มีการสนับสนุนจากผู้บริหารอย่างต่อเนื่อง จุดพัฒนา ต้องมีการเผยแพร่นโยบายแก่พนักงาน ให้พนักงานรับทราบทั่วถึงกันทุกหน่วยงาน จุดแข็ง

ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM 2.การจัด การองค์กร มีคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานด้านการอนุรักษ์พลังงานโดยผู้บริหารระดับสูง แต่การกำหนดหน้าที่มีขอบเขตจำกัดและไม่ชัดเจน มีการเผยแพร่คำสั่งแต่งตั้ง แต่พนักงานรับทราบไม่ทั่วถึง จุดพัฒนา เผยแพร่คำสั่งแต่งตั้งให้พนักงานรับทราบทั่วถึงทุกหน่วยงาน จุดแข็ง

ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM จุดอ่อน 3.การกระตุ้นและสร้างแรงจูงใจ คณะกรรมการ/คณะทำงานด้านการอนุรักษ์พลังงานเป็นผู้ดำเนินการเป็นครั้งคราว จุดที่พัฒนาได้ -จัดให้มีแผนกิจกรรมให้ชัดเจน - ผู้บริหารกระตุ้นและสร้างแรงจูงใจให้พนักงานทุกระดับมีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พลังงาน

ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM จุดอ่อน 4.ระบบข้อมูลข่าวสาร มีการจัดทำสรุปรายงานการใช้พลังงานและประหยัดพลังงานอย่างไม่เป็นทางการ จุดที่พัฒนาได้ -ต้องมีการจัดทำระบบการจัดเก็บและสื่อสารข้อมูลเกี่ยวการใช้พลังงานและการประหยัดพลังงานระหว่างผู้บริหารกับพนักงาน -ต้องมีการติดตามประเมินผลของการสื่อสาร เพื่อหาข้อบกพร่องและแนวทางแก้ไข

ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM จุดอ่อน 5.การประชาสัมพันธ์ มีการแจ้งพนักงานทราบข้อมูลอย่างไม่เป็นทางการ จุดที่พัฒนาได้ -กำหนดให้มีการเผยแพร่โครงการอนุรักษ์พลังงานเป็นส่วนหนึ่งของการประชาสัมพันธ์ขององค์กร -ประชาสัมพันธ์ให้พนักงานรับทราบคุณค่าของการประหยัดพลังงาน

ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM จุดอ่อน 6.การลงทุน มีการลงทุนต่ำ จุดที่พัฒนาได้ ระยะสั้น - อุปกรณ์ที่ต้นทุนต่ำหรือเร่งด่วน ระยะยาว - อุปกรณ์ที่มีต้นทุนสูงแบ่งเป็นช่วงเวลา ๓ ปี ๕ ปี ๑๐ ปี

มาตรการและการคำนวณผลประหยัด ผลสำรวจ :WARDกระติกน้ำร้อน Vs ไมโครเวฟ พิกัดกำลังไฟฟ้ากระติกน้ำร้อน = 800 watt. เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 50 % เวลาทำงาน = 24 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 9.6 x 3.7 = 35.52 บาท/วัน มาตรการด้านเทคนิคและการประชาสัมพันธ์ 1. ปรับเปลี่ยนไปใช้ไมโครเวฟแทนกระติกน้ำร้อน พนักงาน 12 คน ดื่มกาแฟวันละ 12 แก้ว ไมโครเวฟใช้พลังงาน 12x5x1,200 = 1.2 x 3.7 = 4.4 บาท 2. กำหนดเป็นระเบียบปฏิบัติให้ทุกหน่วย ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า =35.52x30-4.4x30 บาท = 1065-133-150 = 782 บาท/เดือน ค่าไฟฟ้าต้มน้ำเก็บไว้ 150 บาท

มาตรการและการคำนวณผลประหยัด ผลสำรวจ : WARDตู้เย็นอยู่ชิดผนัง / มีของเต็มตู้เย็นเกินไป ไม่ชั้นกั้นระหว่างชั้นตู้ พิกัดกำลังไฟฟ้า = 8 คิว 500 watt. เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 50 % เวลาทำงาน = 24 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 10.8 kw /เดือน (10.8x3.7x30) = 1,198 บาท/เดือน มาตรการด้านเทคนิคและการประชาสัมพันธ์ 1. ดำเนินการเคลื่อนย้ายตู้เย็นออกจากผนังห้อง 10 – 15 Cm 2. จัดวางสิ่งของในตู้เย็นให้เป็นระเบียบ / จัดชั้นเพื่อวางสิ่งของเพื่อระบายความเย็นให้ทั่วถึง 3.เผยแพร่ผลเสีย(อย่างสร้างสรรค์)ที่เกิดขึ้นผ่านสื่อต่างๆใน รพ. ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = ( 500 x 24 x 0.8 x 30 ) / 1000 = 9.6 kw/วัน อัตราค่าไฟฟ้า = 3.7 บาท/หน่วย ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ = 9.6x3.7x30= 1,065 บาท/เดือน

มาตรการและการคำนวณผลประหยัด ผลสำรวจ : WARD หลอดไฟ T8 ขนาด 48 watt 36 หลอด พิกัดกำลังไฟฟ้า = 1,728 watt. เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 100 % เวลาทำงาน = 24 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 15,137 หน่วย/ปี มาตรการด้านเทคนิคและการประชาสัมพันธ์ 1. เปลี่ยนเป็นหลอดT5 ขนาด 31 W จำนวน 24 หลอด (เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 100 %) 2. เผยแพร่ข้อมูลของหลอดไฟฟ้า T5 เทียบกับประเภทอื่น ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = ( 31x24x24x365) = 6,517 หน่วย/ปี อัตราค่าไฟฟ้า = 3.7 บาท/หน่วย ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ =(15,137-6,517)=8,620 =(8,620x3.7)=31,894 บาท/ปี เงินลงทุนหลอดT5 = 570x24 = 13,680 บาท คืนทุน = 13,680 บาท/31,894 บาท ภายใน 4 เดือน

มาตรการและการคำนวณผลประหยัด ผลสำรวจ : BACKOFFICE คอมพิวเตอร์ วิธีประหยัดพลังงาน การใช้พลังงานแบบปิดหน้าจอ 1 เดือน (80x8x30)= 19.2 kw/เดือน คอมฯ 1 เครื่อง 71.04 บาท / เดือน คอมฯ 15 เครื่อง 1,065 บาท/เดือน Sceen Sevver (128x8x30)= 30.72 kw/เดือน 1 เครื่อง113.6 บาท /เดือน เครื่อง 1,704 บาท/เดือน Stan by (6x8x30)= 1.44 kw/เดือน 1 เครื่อง 5.34 บาท /เดือน 15 เครื่อง 160 บาท/เดือน ผลการประหยัด สมควรใช้แบบ Stan by

การประชาสัมพันธ์ -ประชุมเจ้าหน้าที่รับรู้ประโยชน์การอนุรักษ์พลังงาน -ติดประกาศนโยบายทุกหน่วยงาน -จัดกิจกรรมENERGY ทุกวันจันทร์ที่ 3 ของเดือน -จัดประกวดคำขวัญด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม -ติดประกาศค่าใช้จ่ายในแต่ละหน่วยงาน -จัดอบรมเจ้าหน้าที่ -จัดนิทรรศการเกี่ยวกับวิธีการอนุรักษ์พลังงานในชุมชน

มาตรการอื่นๆ ท่อน้ำเย็นดาดฟ้า ตู้เก็บเอกสาร WARD 10

แผนการดำเนินงานและประเมินตรวจติดตาม

สิ่งที่ได้รับ 1.ติดสีแยกประเภทการเปิด-ปิดไฟ 2.เปลี่ยน emergency light เป็น LED 3.มี energy card ในหน่วยงาน 4.หุ้มฉนวนท่อน้ำเย็นของเครื่อง chiller ให้ครบทุกท่อ 5.ไม่วางของที่ไม่จำเป็นในห้องทำงาน

สมาชิกกลุ่มที่ 3 “ไบโอ” 1.ชอบอาจารย์ที่ให้คำปรึกษาที่ดี 2.ตื่นเต้นกับการนำเสนอ 3.มีเวลาทำทีมน้อยแต่เราก็ไปด้วยดี 4.ทำให้มีความรู้มากขึ้นและได้รู้จักพี่ๆน้องๆที่อยู่ในแวดวงโรงพยาบาล 5.ได้ความรู้ด้านการอนุรักษ์พลังงานมากขึ้น 6.ได้เห็น ภาพจำลองการทำงานเพื่อนำไปใช้ในโรงพยาบาลของเรา ขอบคุณพี่ๆ น้องๆทุกคน ครับ ค่ะ

สมาชิกกลุ่มที่ 3 “ไบโอ” ขอบคุณ