กลุ่มวิชาชีพ/ วิชาการ/ กฎหมาย/ระเบียบ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลประเมินสถานภาพและ ข้อเสนอมาตรการสร้างความเข้มแข็ง IBC ของประเทศไทย
Advertisements

ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
สรุปผลการทบทวนความเสี่ยง องค์การจัดการน้ำเสีย ประจำปี 2551
บันทึกการประชุม บันทึกการประชุมมีปัญหาในเรื่องของการจะบันทึกการประชุม เป็นการจดแจ้งจากข้อเท็จจริงที่ปรากฎในการประชุม เพราะฉะนั้นการประชุมจะแต่งเติม เพิ่มแสดงความคิดเห็นเพิ่มอะไรลงไปไม่ได้
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
กลุ่มที่ 3 กลุ่มจังหวัดที่ 6.1 กลุ่มจังหวัดที่ 6.2 กลุ่มจังหวัดที่ 6.3 กลุ่มจังหวัดที่ 7.1 กลุ่มจังหวัดที่ 7.2.
แนวทางการเลือกพื้นที่เป้าหมาย
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
การค้ามนุษย์.
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
การขอจัดตั้งส่วนราชการ
27 ตุลาคม 2551 ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย
นายกสมาคมธุรกิจบ้านจัดสรร
สรุปโครงสร้างของ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
1. การให้ความรู้ด้านการผังเมือง
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
การจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
กลุ่มที่ 4 กลุ่มจังหวัดที่ 8.1 สุราษฎร์ธานี ชุมพร ระนอง
แนวคิดความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ โครงการ และงบประมาณ
ประเด็นที่ 1 ให้ทบทวนโยบายแนว ทางการดำเนินงานที่ ผ่านมา ของ ส. ป. ก. พร้อมทั้งวิเคราะห์ ปัญหาอุปสรรค และ แนวทางแก้ไข 1. กิจกรรมการจัดที่ดินและคุ้มครองพื้นที่
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
กลุ่มที่ 1.
จุดอ่อน คณะกรรมการศูนย์ฯ ได้รับเบี้ยประชุมน้อย ขาดสวัสดิการ
นโยบายด้านบริหาร.
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
“ การตรวจราชการ บูรณาการเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพระบบบริหาร ”
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
ดร.อุดมพร ธีระวิริยะกุล และทีมงานคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
การบริหารราชการแผ่นดิน
เรื่องแนวทางการพัฒนาไปสู่ธนาคารที่ดิน
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางการจัดทำแผน ยุทธศาสตร์ การพัฒนาบุคลากร สถาบัน ธัญญารักษ์ และศูนย์บำบัดรักษายาเสพติด ภูมิภาค 17 – 18 มกราคม 2549 ห้องประชุม 2 / 2 สถาบันธัญญารักษ์
ความร่วมมือไทย-ลาว ในเรื่อง Contract Farming (CF)
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้าง สมรรถนะองค์กรให้มีประสิทธิภาพสูง อำนาจหน้าที่ 1. ตรวจราชการ ประสานงาน เร่งรัด ติดตาม ตรวจสอบ และ ประเมินผลการปฏิบัติราชการ.
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มวิชาชีพ/ วิชาการ/ กฎหมาย/ระเบียบ กลุ่ม 3 กลุ่มวิชาชีพ/ วิชาการ/ กฎหมาย/ระเบียบ

ประเด็น 1. ผังเมืองและการใช้ประโยชน์ที่ดิน 2. กฎหมาย 3. สาธารณูปโภค 4. โครงสร้างภาษี 5. การเงิน 6. รูปแบบองค์กร 7. ระบบข้อมูล 8. ผู้มีรายได้น้อย + ผู้มีโอกาสน้อย 9. อื่น ๆ

ผังเมือง ยุทธศาสตร์เมือง (ระบุความชัดเจน) - มี character ของเมืองที่ชัดเจน - มีบริการสาธารณูปโภคที่ทั่วถึง - คำนึงถึงลักษณะทางธรณีวิทยา การใช้ประโยชน์ที่ดิน - ควรมีการกำหนดยุทธศาสตร์เป็นเมืองน่าอยู่ - ควรมียุทธศาสตร์การพัฒนาที่อยู่อาศัยของชาวต่างชาติในการวางผังเมือง

การถ่ายโอนอำนาจไปยังท้องถิ่นยังขาดองค์ความรู้ทางด้าน City Plan และที่อยู่อาศัยพยายามถ่ายทอดความรู้ให้ท้องถิ่น ใช้อย่างถูกต้อง ยังมีช่องว่างระหว่างการวางผังเมืองกับแผนพัฒนาที่อยู่อาศัย การวางผังเมืองต้องวางแผนที่อยู่อาศัยควบคู่ไปด้วย โดยเฉพาะต้องคำนึงถึงการจัดให้มีที่อยู่อาศัยสำหรับผู้มีรายได้น้อย ควรใช้กลไกผังเมืองที่มีอยู่ให้ครบถ้วน ส่งเสริมให้ท้องถิ่นสามารถใช้อำนาจที่มีอยู่ หรือกฎหมายที่จำเป็น

ควรมีคณะกรรมการผังเมืองชุมชน เพื่อประเมินสถานการณ์ให้ความคิดเห็นในการจัดทำผังเมืองรวม ควรทำผังเมืองให้เป็นเรื่องเข้าใจง่าย ขาดมาตรการจูงใจและบทลงโทษที่ทำให้การดำเนินการเป็นไปตามที่ผังเมืองกำหนด

สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ผังเมืองต้องเป็นตัวกำหนดการพัฒนาสาธารณูปโภคสาธารณูปการ ไม่ใช่สาธารณูปโภคเป็นตัวนำ ระบบการจัดการขนส่งและถนนหนทางควรนึกถึงอายุการใช้งาน โดยต้องวางแผนล่วงหน้าและมองไกล ให้ใช้คุ้มค่าการลงทุน (มองให้ยาวกว่าปัจจุบันที่ทำแล้วไม่เป็นไปตามแผน)

ต้องมีหน่วยงานประสานงานสาธารณูปโภค ไม่ใช่ต่างคนต่างทำอย่างเช่นในปัจจุบัน การวางแผนระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการควรเป็นการวางแผนระยะยาวและควรคำนึงถึงอายุการใช้งานระยะยาว

ควรมีหน่วยประสานงานระดับนโยบาย เช่น กทม ควรมีหน่วยประสานงานระดับนโยบาย เช่น กทม. เป็นตัวกลางเชิญหน่วยงานต่าง ๆ มาร่วมวางแผน (เดิมเคยมีหน่วยงานนี้ที่กระทรวงมหาดไทย) การวางเป้าหมายของเมืองต้องมองในระดับภูมิภาค เนื่องจากเมืองต้องรองรับบทบาทที่สัมพันธ์กับต่างประเทศ และรองรับชาวต่างชาติด้วย

ยุทธศาสตร์ชาติด้านที่อยู่อาศัยควรคำนึงถึง - การอนุรักษ์พลังงาน ซึ่งควรมีการออกกฎเกณฑ์ที่มองผลระยะยาวทางการอนุรักษ์พลังงาน - ลดการใช้น้ำมันโดยใช้ระบบการขนส่งระบบราง เพื่อการเป็น Green City อย่างจริงจัง รวมทั้งควรปรับปรุงกฎหมายควบคุมอาคาร ลดพื้นที่จอดรถ ในพื้นที่ที่มีโครงสร้างพื้นฐานของระบบรางโดยสามารถเพิ่มสีเขียวแทน

องค์กร ควรมีองค์กรทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่นเป็นศูนย์รวมในการกำหนดนโยบายแผนการพัฒนาเมืองและที่อยู่อาศัย มี Committee ทำหน้าที่ดูแล MASTER PLAN ของชุมชน เมือง หน่วยงานข้อมูลรวมศูนย์ข้อมูลทุกด้านของเมืองและที่อยู่อาศัย รวมทั้งด้านกายภาพ

องค์กร ควรมีองค์กรทำหน้าที่สื่อสารกับประชากรในชุมชน ให้เห็นเป้าหมายร่วมกันของเมืองในอนาคต ควรรวบรวมองค์กรอันเกี่ยวเนื่องกับที่อยู่อาศัยอยู่ภายใต้กระทรวงเดียวกัน เพื่อให้เกิด One Stop Service อย่างจริงจัง สามารถทำให้เกิด Master Plan ทางด้านสาธารณูปโภค ภายใต้กระทรวงเดียวกัน อยากให้เมืองมีทางจักรยาน เพื่อให้เป็น Green City

ผลักดันให้เกิดการรวมศูนย์การพัฒนาประเทศ โดยรวมหน่วยงานต่าง ๆ เข้าด้วยกัน หรือหากแยกส่วนต้องมีกลไกที่โปร่งใสเพื่อการพัฒนาที่อยู่อาศัย การเคหะแห่งชาติเสนอให้มีการตั้งคณะกรรมการที่อยู่อาศัยและพัฒนาเมืองในระดับชาติ เพื่อมีส่วนช่วยในการแก้ปัญหา ควรเพิ่มหน่วยงานระดับท้องถิ่นรองรับนโยบายและแผนระดับชาติ ระดับภาค องค์กรที่อยู่อาศัยและองค์กรพัฒนาเมืองจึงต้องมีในทุกระดับ

กระทรวงที่ตั้งใหม่ควรชื่อกระทรวงพัฒนาเมืองและที่อยู่อาศัย

สรุป พิจารณา 3 ประเด็น 1. ผังเมือง 2. สาธารณูปโภค 3. รูปแบบองค์กร

รัฐควรมีหน่วยงานกลางที่เกี่ยวข้องทำหน้าที่เหมือนโยธาธิการประเทศ เพื่อจัดทำข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดิน