บทที่ ๖ หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Advertisements

การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
การทำงานแบบเลือกทำ (Selection)
ลักษณะโครงสร้างของผังงาน
การเขียนโปรแกรม แบบมีโครงสร้าง (ต่อ)
การเขียนผังงาน.
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
บทนำ การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
บทที่ 5 การทำงานแบบวนซ้ำ
CE 112 บทที่ 5 การทำซ้ำในภาษา C
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
บทที่ 1. พื้นฐานความรู้ทั่วไป
หน่วยที่ 2 วิธีการออกแบบโปรแกรม
การจำลองความคิด
Surachai Wachirahatthapong
การเขียนผังงานแบบโครงสร้าง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
การเขียนโปรแกรมแบบมีทางเลือก
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนผังงาน.
การเขียนผังงาน (Flowchart)
หลักการแก้ปัญหา.
การเขียนผังงาน จุดประสงค์ 1.อธิบายความของผังงานได้
Flow Chart INT1103 Computer Programming
Week 3 Flow Control in PHP
โครงสร้างข้อมูลคืออะไร ?
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
ขั้นตอนวิธี และผังงานแบบต่าง ๆ.
รูปแบบการเขียนผังงานแบบ 2 ทางเลือก
การเขียนผังงานแบบทำซ้ำ
การเขียนผังงานแบบทางเลือก
การออกแบบโปรแกรม ขั้นตอนการแก้ปัญหา การนิยามปัญหา (Problem definition)
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
2.3.1 รหัสเทียม (Pseudo code)
การออกแบบโครงสร้าง (Structured Design)
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
บทที่ 7 การวิเคราะห์งานและการโปรแกรม แบบมีโครงสร้าง
หลักการแก้ปัญหา.
แบบทดสอบหลังเรียนวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
หน่วยที่ 4 หลักการแก้ปัญหากับภาษาคอมพิวเตอร์
ผังงาน (FLOW CHART) ส่วนประกอบของผังงาน (Flow Chart)
Chapter 6 Repetition Structure[2] ผู้สอน อ. ยืนยง กันทะเนตร สาขาวิชาเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์เคลื่อนที่ ng.
การเขียนซูโดโค้ด และการเขียนโฟลชาร์ต
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การแก้ปัญหาโปรแกรม (Flowchart)
สาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร.
การเขียน แบบวนซ้ำ , วนลูป
หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเขียน Flow Chart.
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
Flowchart การเขียนผังงาน.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเขียนโปรแกรมแบบลำดับ
การเขียนผังงาน (Flowchart)
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ ๖ หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์

Flow Chart -ภาษาไทย เรียกว่า ผังงาน -ภาษาไทย เรียกว่า ผังงาน -เป็นการอธิบายขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาโดยใช้รูปสัญลักษณ์มาเรียงต่อกัน สัญลักษณ์แต่ละแบบจะมีความหมายถึงกระบวนการที่แตกต่างกัน โดยจะมีคำอธิบายสั้นๆเพิ่มเติมในรูปสัญลักษณ์ต่างๆ ที่ใช้ในผังงานได้กำหนด โดยสถาบันมาตรฐานแห่งชาติอเมริกา (The American National Standard Institute: ANSI)

สัญลักษณ์ที่ใช้ในการทำ Flow Chart ใช้เป็นการแสดงเริ่มต้นและสิ้นสุด การนำข้อมูล เข้า-ออก การปฏิบัติงาน การตัดสินใจ

สัญลักษณ์ที่ใช้ในการทำ Flow Chart ทิศทางขั้นตอนการดำเนินงาน จุดเชื่อมต่อผังงานในหน้าเดียวกัน จุดเชื่อมต่อผังงานคนละหน้ากระดาษ

โครงสร้างของการเขียน Flow Chart มี 3 แบบ 3.แบบวนซ้ำ 1.แบบลำดับ 2.แบบทางเลือก

1.โครงสร้างแบบลำดับ (Sequential Structure) โครงสร้างแบบนี้จะเป็นการทำงานเป็นขั้นตอน เพื่อแก้ไขปัญหาจะทำงานตามคำสั่งที่เขียนไว้ตามลำดับ ตั้งแต่คำสั่งแรกไปจนไปถึงคำสั่งสุดท้าย

2.โครงสร้างแบบทางเลือก (Selection Structure) ปัญหาบางอย่างต้องการการตัดสินใจ เพื่อเลือกว่าจะใช้วิธีการใด โดยการกำหนดเงื่อนไข ให้เป็นทางเลือกของโปรแกรมซึ่ง จะต้องมีเพียงสองทางเลือกเท่านั้น และ หลังจากนั้นทางเลือกทั้งสองต้องมาพบกัน และทำงานในขั้นตอนต่อไป เงื่อนไข ชุดคำสั่งที่ 1 ชุดคำสั่งที่ 2 จริง เท็จ

3.โครงสร้างแบบวนซ้ำ (Repetition Structure) คือการทำซ้ำ เป็นการเขียน flowchart ให้กลับมาทำงานในขั้นตอนอย่างเก่า จะเห็นว่า flowchart มีลักษณะวน ซึ่งเรียกว่า loop และจะสังเกตว่า การวน loop ดัง รูปที่ 4 จะไม่มีทางออกไปทำงานในขั้นตอนต่อไปได้เลย เพื่อที่จะทำให้ออกจาก loop ได้จะต้องมีการ เช็คเพื่อออกจาก loop ดังจะได้กล่าวต่อไป ชุดคำสั่งที่ 2 ... ชุดคำสั่งที่ 1 เท็จ เงื่อนไข จริง

โครงสร้างแบบการวนซ้ำ มี 2 แบบ เท็จ พิมพ์ค่า a เงื่อนไข จริง พิมพ์ค่า b พิมพ์ค่า a เงื่อนไข พิมพ์ค่า b เท็จ จริง โครงสร้างแบบวนซ้ำแบบ while โครงสร้างแบบวนซ้ำแบบ until

ตัวอย่างของการเขียน Flow Chart Problem : จงเขียน flow chart เพื่อถ่ายทอดความคิดขั้นตอนวิธีในการต้มม่ามารับประทาน

ขั้นตอนการต้มมาม่า เริ่มต้น ซื้อมาม่า -ซื้อมาม่า ฉีกซอง -ฉีกซอง ต้ม -ต้ม ต้ม -สุกไหม สุก? -รับประทาน รับประทาน จบ

ตัวอย่างของการเขียน Flow Chart Problem : จงเขียน flow chart แสดงการหาค่าเฉลี่ยของจำนวน 5 จำนวน

เริ่มต้น จบ counter←0 sum ←0 print average Input x average ←sum/5 counter ←counter+1 sum ← sum+x counter<5

การประกาศ library ส่วนหัวของฟังก์ชั่น การประกาศตัวแปร Local ใช้ได้เฉพาะในเฉพาะฟังก์ชั่นนั้นๆ Global ใช้ได้ในทุกๆ ฟังก์ชั่น

จะต้องมีการประกาศ library ก่อน # include <stdio.h> 4. คำสั่งต่างๆ จะต้องมีการประกาศ library ก่อน # include <stdio.h> # include <conio.h> int main ( ) { int i , j ; } 1 2 3 4

การเขียน Flow Chart เบื้องต้น 1.เริ่มจากการเขียนขั้นตอนต่างๆก่อน 2.นำมาขั้นตอนต่างๆมาเขียนเรียงลำดับ พร้อมใส่ทิศทางการทำงาน 3.ใส่สัญลักษณ์ให้ตรงกับคำสั่งชุดนั้นๆ