ความสำคัญของการบริหารการเงิน งานทางด้านการเงิน รูปแบบธุรกิจ เป้าหมายของบริษัท ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
โอกาสการเลือกงานทางด้านการเงิน ตลาดเงิน และตลาดทุน การลงทุน การบริหารการเงิน ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
ความรับผิดชอบของผู้จัดการการเงิน ทำให้มูลค่าหุ้นสูงสุด โดย: การพยากรณ์และวางแผน (Forecasting and planning) การลงทุนและการตัดสินใจในการจัดหาเงินทุน (Investment and financing decisions) การร่วมมือและควบคุม (Coordination and control) การทำธุรกรรมในตลาดการเงิน (Transactions in the financial markets) การบริหารความเสี่ยง (Managing risk) ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
รูปแบบขององค์กรทางธุรกิจ เจ้าของคนเดียว ห้างหุ้นส่วน บริษัท ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
เจ้าของคนเดียวและห้างหุ้นส่วน ข้อดี ง่ายแก่การจัดตั้ง มีกฎระเบียบไม่มากนัก ไม่ต้องเสียภาษีบริษัท ข้อเสีย ยากแก่การจัดหาเงินทุน ไม่จำกัดความรับผิดชอบในหนี้สิน มีอายุจำกัด ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ บริษัท ข้อดี ไม่มีการจำกัดอายุของธุรกิจ ง่ายแก่การโอนความเป็นเจ้าของ จำกัดความรับผิดชอบในหนี้สิน ง่ายแก่การจัดหาเงินทุน ข้อเสีย เสียภาษีสองต่อ มีค่าใช้จ่ายในการจัดตั้งและการจัดทำรายงานงบการเงิน ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
เป้าหมายทางการเงินของบริษัท เป้าหมายหลักทางการเงิน คือการทำให้เกิดความมั่งคั่งสูงสุดแก่ผู้ถือหุ้น ซึ่งหมายถึงการทำให้หุ้นมีราคาสูงสุดนั่นเอง บริษัทควรจะมีความรับผิดชอบต่อสังคมด้วย การทำให้ราคาหุ้นสูงสุดอาจไม่เป็นผลดีต่อสังคมเสมอไป บริษัทควรมีจริยธรรมในการดำเนินงาน ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
ราคาหุ้นสูงสุด vs. กำไรสูงสุด ราคาหุ้นสูงสุดไม่ได้หมายถึงกำไรสูงสุดเสมอไป, เว้นแต่ว่าราคาหุ้น, EPS, และกระแสเงินสดมีความสัมพันธ์ระหว่างกันสูงมาก ราคาหุ้นในปัจจุบันขึ้นอยู่กับกำไรในปัจจุบัน รวมถึงกำไรในอนาคต และกระแสเงินสด การกระทำหรือการตัดสินใจบางอย่างของผู้บริหารอาจทำให้กำไรสูงขึ้น แต่ทำให้ราคาหุ้นลดลงก็ได้ ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อราคาหุ้น กระแสเงินสดที่พยากรณ์ไว้ว่าผู้ถือหุ้นจะได้รับ ช่วงเวลาที่ได้รับกระแสเงินสด ความเสี่ยงของกระแสเงินสด ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อระดับและความเสี่ยงของกระแสเงินสด การตัดสินใจของผู้จัดการทางการเงิน: การตัดสินใจลงทุน การตัดสินใจในการจัดหาเงินทุน (สัดส่วนการก่อหนี้) การตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบายเงินปันผล ปัจจัยภายนอก ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ