โครงงานเรื่อง การบริหารสินค้าคงคลัง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานนำเสนองานวิจัย. เรื่อง พฤติกรรมการใช้จ่าย. ของประชาชนในเขตชุมชน
Advertisements

ความหมายของโครงงาน.
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
รายงานการวิจัย.
การวิเคราะห์ระบบและวิธีปฏิบัติงาน
Thesis รุ่น 1.
การศึกษารายกรณี.
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน รุ่นที่ รุ่นที่ 11 – 14
ชื่อกลุ่ม งานเสร็จไว สบายใจลูกค้า
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
Logistics Logistics เป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร การเคลื่อนย้ายและการเก็บวัตถุดิบ สินค้าระหว่างผลิต และสินค้าสำเร็จรูป รวมทั้งข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากจุดกำเนิด.
แบบทดสอบก่อนเรียน วิชา โครงงานคอมพิวเตอร์
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
คุยกันก่อนเรียน สัมมนาสัตวศาสตร์ ปีการศึกษา 2551.
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
การติดตาม และประเมินโครงการ.
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
หน่วยที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
กระดาษทำการของผู้สอบบัญชี มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 230
การจัดการสินค้าคงคลัง
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
โมดูล 5 ผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง รอบรู้เรื่องอาเซียน
การบริหารสินค้าคงคลัง (Inventory Management)
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
SYSTEM ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ
ใบความรู้ เรื่อง...การทำโครงงาน
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
งาน 1 : สรุป และนำเสนอ. 1. สถานการณ์ ที่มาและความสำคัญ. 2
นางสาว กรรณิการ์ ปัญญาเมืองใจ
การเขียนรายงานการวิจัย
ตัวอย่าง ระบบคลังหนังสือ (Book Stock System)
ความรู้สู่การประชาสัมพันธ์งาน ด้านการศึกษา คณะวารสารศาสตร์และ สื่อสารมวลชน Knowledge Management.
วิธีดำเนินการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
การเขียนรายงาน.
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย อาจารย์พิศมัย เดชคำรณ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
ข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
Supply Chain สินค้าเกษตร ในสหกรณ์การเกษตร
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ความหมายของ KM การจัดการความรู้ หมายถึง กระบวนการอย่าง มีระบบเกี่ยวกับการประมวลข้อมูล สารสนเทศ ความคิด การกระทำ ตลอดจนประสบการณ์ของ บุคคลเพื่อสร้างเป็นความรู้หรือนวัตกรรม.
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
บทที่1 การบริหารการผลิต
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
IDS 3901 ค้นคว้าวิจัยงานออกแบบ. บทที่ 1 บทนำ 1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา เนื้อหาในส่วนนี้มาจากข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวกับ เรื่องที่จะทำ ประวัติความเป็นมาของตัวสินค้าหรือตัว.
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
1. ศึกษาการนำเสนอที่หลากหลาย 2. เลือกวิธีการที่เหมาะสม
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
บทที่ 4 ข้อเสนอโครงการวิจัย
บทที่7 ระบบการควบคุมสินค้าคงเหลือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงงานเรื่อง การบริหารสินค้าคงคลัง

บทที่ 1   บทนำ  1.1 ความเป็นมาของโครงงาน ในปัจจุบันประเทศไทยได้เปิดให้มีการแข่งขันเสรี ผู้ประกอบการจึงจำเป็นต้องพัฒนาขีดความสามารถให้สูงขึ้นไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาระบบคุณภาพของตนเอง ระบบกระบวนการผลิต หรือ ระบบการบริหารจัดการในโซ่อุปทาน จึงเป็นที่แน่นอนว่าการบริหารสินค้าคงคลังเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่ควรให้ความสำคัญ เนื่องจากเป้าหมายของการบริหารสินค้าคงคลังเป็นการสร้างความสมดุลทั้งในส่วนของบริษัท และในส่วนของลูกค้า

การเรียนการสอนในรายวิชาการบริหารสินค้าคงคลัง เป็นการเรียนลักษณะของการเรียนในหนังสือเพียงอย่างเดียว ซึ่งทำให้ผู้เรียนเข้าใจได้ยากเพระเป็นเนื้อหาที่ซับซ้อน อีกทั้งยังมีเนื้อหาจำนวนมาก เป็นที่แน่นอนว่าในการเรียนที่มีแต่ทฤษฎี เป็นเรื่องที่น่าเบื่อ และทำให้ผู้เรียนไม่มีความกระตือรือร้น จึงจะส่งผลให้การเรียนการสอนไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ดังนั้น ผู้จัดทำจึงได้จัดทำสื่อการเรียนการสอนเรื่อง การบริหารสินค้าคงคลัง สำหรับเป็นตัวกลางในการเรียนการสอน ระหว่างอาจารย์ผู้สอนกับผู้เรียน ทำให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น จะทำให้เกิดกระบวนการทางความคิด และเห็นภาพได้อย่างชัดเจน จึงได้นำสื่อการเรียนการสอบแบบทางเดินเอกสารในรูปแบบหนังสือภาพ เพื่อจะลดความเบื่อหน่ายในการเรียน และช่วยดึงดูดความสนใจของผู้เรียนได้ดียิ่งขึ้น อีกทั้งยังใช้เป็นสื่อการเรียนรู้ให้กับนักศึกษาและบุคคลทั่วไปที่สนใจ

1.2 วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1.2.1 เพื่อใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนให้กับอาจารย์ผู้สอนในรายวิชาการบริหารสินค้าคงคลัง 1.2.2 เพื่อใช้เป็นสื่อการเรียนรู้สำหรับนักศึกษา และบุคคลทั่วไปที่สนใจในเรื่องของการบริหารสินค้าคงคลัง 1.2.3 เพื่อใช้เป็นอีกช่องทางหนึ่งในการค้นคว้าหาข้อมูลเรื่องการบริหารสินค้าคงคลัง

1.3 ขอบเขตของโครงงาน 1.3.1 การบริหารสินค้าคงคลัง 1.3.1.1 ความหมายของการบริหารสินค้าคงคลัง 1.3.1.2 ความสำคัญของการบริหารสินค้าคงคลัง 1.3.1.3 หลักการทำงานของการบริหารสินค้าคงคลัง 1.3.1.4 ประเภทของการบริหารสินค้าคงคลัง 1.3.1.5 การวิเคราะห์สินค้าคงคลังด้วยระบบ ABC 1.3.1.6 การวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารสินค้าคงคลัง

1.3.1.7 เป้าหมายของการจัดการสินค้าคงคลัง 1.3.1.8 ระบบการเติมเต็มสินค้า 1.3.1.9 การหาปริมาณการสั่งซื้อที่เหมาะสม 1.3.1.10 สูตร EOQ (Economic Order Quantity) 1.3.1.11 จุดสั่งซื้อและการหาปริมาณสินค้าสำรอง 1.3.1.12 การวัดผลการดำเนินงานการบริหารสินค้าคงคลัง 3.1.2 สื่อการเรียนการสอนแบบทางเดินเอกสาร ในรูปแบบของหนังสือภาพ

1.4 ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน 1.4.1 อาจารย์ผู้สอนที่สอนในรายวิชา การบริหารสินค้าคงคลังได้มีสื่อใน การเรียนการสอนเรื่องการบริหารสินค้าคงคลัง 1.4.2 นักศึกษา และบุคคลทั่วไปที่สนใจได้ทราบและเข้าใจในเรื่องของการ บริหารสินค้าคงคลังมากยิ่งขั้น 1.4.3 สามารถค้นคว้าหาข้อมูลเรื่องการบริหารสินค้าคงคลังได้สะดวก และ ง่ายขึ้น  

1.5 วิธีการดำเนินการ 1. ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับโครงงาน มิถุนายน - กรกฎาคม 1. ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับโครงงาน มิถุนายน - กรกฎาคม 2. เสนอหัวข้อโครงงาน กรกฎาคม 3. รวบรวมข้อมูลบทที่ 1 ให้อาจารย์ที่ปรึกษาตรวจเพื่อแก้ไขปรับปรุง สิงหาคม - กันยายน 4. สอบโครงงานครั้งที่ 1 นำเสนอโดย Power Point กันยายน 5. ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ ให้อาจารย์ตรวจอีกครั้ง กันยายน 6. รายงานความก้าวหน้าหลังจากสอบโครงงานครั้งที่ 1 กันยายน 7. ร่างแบบสื่อการเรียนการสอน กันยายน - ตุลาคม 8. ส่งสื่อการเรียนการสอนให้อาจารย์ตรวจ ตุลาคม - พฤศจิกายน 9. สอบโครงงานครั้งที่ 2 นำเสนอโดย Power Point บทที่ 1-3 ตุลาคม - พฤศจิกายน

11. รวบรวมข้อมูลบทที่ 4-5 ให้อาจารย์ตรวจเพื่อทำการแก้ไขปรับปรุง มกราคม 10. ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ นำโครงงานที่แก้ไขให้อาจารย์ตรวจ พฤศจิกายน - ธันวาคม 11. รวบรวมข้อมูลบทที่ 4-5 ให้อาจารย์ตรวจเพื่อทำการแก้ไขปรับปรุง มกราคม 12. นำบทที่ 4-5 ที่แก้ไขปรับปรุงให้อาจารย์ตรวจอีกครั้ง มกราคม 13. สอบโครงงานครั้งที่ 3 นำเสนอโดย Power Point บทที่ 1-5 มกราคม – กุมภาพันธ์  14. ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ นำโครงงานที่แก้ไขให้อาจารย์ ตรวจอีกครั้ง กุมภาพันธ์  15. สรุปผลและจัดทำรูปเล่มส่งอาจารย์ กุมภาพันธ์  

1.6 นิยามศัพท์ 1.6.1 EOQ (Economic Order Quantity) หมายถึง ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด 1.6.2 Inventory Management หมายถึง การบริหารสินค้าคงคลัง 1.6.3 Make to Order หมายถึง การผลิตตามคำสั่งของลูกค้า 1.6.4 Raw Materials หมายถึง วัตถุดิบ 1.6.5 Work in Process หมายถึง งานระหว่างผลิต 1.6.7 Finish Goods หมายถึง สินค้าสำเร็จรูป 1.6.8 Maintenance Repair & Operating Supply (MRO) หมายถึง สินค้าที่ใช้ใน การ บำรุงรักษา ซ่อมบำรุง วัสดุสิ้นเปลือง