การศึกษาอุปสงค์ต่อเบียร์ในประเทศอังกฤษ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
Advertisements

Supply-side Effects of Fiscal Policy.
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายได้ของผู้บริโภค
การเลือกคุณภาพสินค้า
ตัวอย่างการประยุกต์อุปสงค์/อุปทาน
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
Training Management Trainee
โครงสร้างเงินลงทุน ณ 31 พฤษภาคม 2552
นวัตกรรมน่ารู้ นางสาวสินีนาฎ อุ่นใจเพื่อน
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
เศรษฐศาสตร์จุลภาคเป็นการศึกษาพฤติกรรม (behavior) ของหน่วยเศรษฐกิจแต่ละประเภท (individual economic units) ได้แก่ • ผู้บริโภค • แรงงาน • เจ้าของธุรกิจ.
ส่วนเกินของผู้บริโภค (consumer surplus)
การประยุกต์ 1. Utility function
อุปสงค์ อุปทาน และ การกำหนดราคา Applications
Q1. การที่ Supply เลื่อนระดับดังภาพ เกิดขึ้นเนื่องจากสาเเหตุใดบ้าง ?
ลัทธิคลาสสิคใหม่ Neoclassical Economics
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
สถิติ.
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
เป้าเบิกจ่าย งบรวม เป้าเบิกจ่าย งบลงทุน งบรวม เบิกจ่าย.
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics)
พฤติกรรมผู้บริโภค.
Sticker House .บ่งบอกตำแหน่ง House ของ Shelf และแต่ละ Zone จะมีจำนวน House ไม่เท่ากัน .แต่ละ Zone ขนาด Sticker จะไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับความหนาของแผ่นพื้น.
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
งานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2551
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยล่าสุด (ณ เดือนตุลาคม) และแนวโน้มไตรมาส 3/50 และ 4/50
“แรงงานปลอดภัยและสุขภาพอนามัยดี”
ความยืดหยุ่นอุปสงค์ และอุปทาน อ. ศิวาพร ทรงวิวัฒน์
การเปรียบเทียบทศนิยม และการใช้เครื่องหมาย  ,  ,  และ 
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สรุปผลสัมฤทธิ์ปีการศึกษา 2552 ชั้ น จำนว นสาระการเรียนรู้ นักเรี ยนทค ค. เพิ่มวสพ.พ. ศ.ศ. ดน ตรีง.ง. คอ ม. อ อ. เพิ่ม ป.1ป
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Demand in Health Sector
บทที่ 4 การกำหนดขึ้นเป็นรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
ภาวะราคาปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร จังหวัดกระบี่
บทที่ 4 การกำหนดเป็นดุลยภาพของตลาดการเปลี่ยนแปลง ภาวะดุลยภาพ และการแทรกแซงดุลยภาพของตลาด ความหมายของดุลยภาพของตลาด ดุลยภาพ (Equilibrium ) หมายถึง ภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์เท่ากับอุปทานโดยจุดดุลยภาพจะแสดงราคาดุลยภาพ.
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนที่ 7
เครื่องมือการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน) ส่วนวิชาการและมาตรฐานการศึกษาท้องถิ่น สำนักประสานและพัฒนาการจัดการศึกษาท้องถิ่น.
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การศึกษาอุปสงค์ต่อเบียร์ในประเทศอังกฤษ ต้องการสร้าง statistical model of demand for beer สังเกตเห็นว่าปริมาณการซื้อเบียร์น่าจะมีความสัมพันธ์กับราคาเบียร์ เก็บข้อมูลราคาเบียร์และปริมาณเบียร์จากคาร์ฟูเพื่อวิเคราะห์ทางสถิติ

ตัวแบบอุปสงค์และอุปทาน P = f(Q) P = ราคาเบียร์ Q = ปริมาณการซื้อขายเบียร์ Pt = a + bQt b < 0 Pt = c + dQt d > 0 ผลการประมาณตัวแบบ Pt = 15 + 0.89Qt t = 1,2………T อุปสงค์หรืออุปทาน?

การวิเคราะห์ตัวแบบ เป็นอุปทานเพราะสัมประสิทธิ์ราคาเป็นบวก? เป็นข้อมูลที่ได้มาจากผู้ขายจึงสะท้อนพฤติกรรมของผู้ขาย? การวิเคราะห์ในสองข้อแรกเป็นตัวอย่างของการวิเคราะห์ที่ไม่มีตรรกทางเศรษฐศาสตร์

ตรรกในการสร้าง statistical Demand Model Pt = a + bQt t = 1,2……T รวมสมการอุปสงค์สำหรับข้อมูลแต่ละชุด ΣPt = aT + bΣQt หารตลอดด้วย T P* = a + bQ* ลบออกจากสมการอุปสงค์จะได้สมการลดรูปของอุปสงค์(reduced form) pt = bqt pt = (Pt-P*) P* และ Q* คือค่าเฉลี่ย qt = (Qt-Q*) สมการลดรูปของอุปทาน pt = dqt

การบ่งชี้อุปสงค์และอุปทาน เงื่อนไขดุลยภาพ qt (d - b) = 0 ไม่สามารถถอดค่า b และ d ได้ เป็นจริงสำหรับทุกค่าที่ b=d สมการอุปสงค์และอุปทานไม่เป็นอิสระต่อกัน การที่ไม่สามารถถอดค่า b หรือ d ได้แสดงว่าตัวแบบ P = f(Q) ไม่สามารถใช้จำลองอุปสงค์หรืออุปทานได้ ถ้าจำลองได้ตัวแบบจะต้องอยู่ในรูปแบบที่สามารถถอดค่า b และ d ได้

กราฟของเงื่อนไขดุลยภาพ Q1 P1 S2 D2 P Q D1 S1

ตัวแบบอุปสงค์/อุปทานจาก logical model ∑pt = b∑ qt + e∑ it + k∑ pot --อุปสงค์ ∑pt = d∑qt + f∑mt ------อุปทาน สร้างสมการใหม่ ∑itpt = b∑qtit + e∑it2 + k∑itpot ∑ptpot = b∑potqt + e∑potit + k∑pot2 ∑ptmt = b∑mtqt + e∑mtit + k∑mtpot สามารถถอดค่า b e และ k ได้ ข้อมูลที่ต้องการในการสร้างตัวแบบเชิงสถิติคือ p q i po

ปี ปริมาณเบียร์ ดัชนีราคาเบียร์ ราคากลุ่มเหล้า ดัชนีราคาขายปลีก รายได้ 1979 68248 84.6 86.9 227.5 137 1980 65490 100 263.7 162 1981 62317 123.2 115.6 295 176 1982 60290 138.7 132.1 320.4 192 1983 62232 148.6 144 335.1 207 1984 62082 160.9 154.2 351.8 222 1985 61507 174.4 164.8 373.2 240 1986 61213 180.9 174 385.9 255 1987 61973 196.5 181.3 402 273 ปริมาณเบียร์เป็นพันเฮกโตลิตร รายได้เป็นพันล้านปอนด์ ราคาอยู่ในรูปดัชนี ที่มา : Johnes, Geraint, Economics for Managers Singapore: Prentice Hall, 1990, หน้า 52

รูปแบบของสมการอุปสงค์ รูปแบบสมการอุปสงค์มีหลากหลาย เช่น ล็อค-ล็อค สัมประสิทธิ์คือความยืดหยุ่น a เป็นความยืดหยุ่นราคา b เป็น cross price elasticity d เป็น income elasticity

constant LnP1/P3 LnP2/P3 LnI/P3 F R2 R2* LnQ 11.014 -1.004 0.804 0.218 11.47 0.85 0.78 (t=-4.32) (t=2.69) (t=1.00) P1/P3 P2/P3 I/P3 Q 60304.84 -156271.3 125500.6 28978.35 10.24 0.84 0.75 (t=-4.08) (t=2.53) (t=1.18) P1 P2 P3 I 79753.58 -108.34 97.82 -172.89 202.33 27.13 0.96 0.92 (t=-0.95) (t=0.83) (t=-4.78) (t=4.15) LnP1 LnP2 LnP3 12.69 -0.17 0.11 -0.82 0.64 33.9 0.94 (t=-0.70) (t=-0.47) (t=-3.67) (t=4.06) *adjusted R2

ปี Q Qf error % 1979 68248 64798 3450 5.05 1980 65490 64349 1141 1.74 1981 62317 62307 10 0.02 1982 60290 62411 -2121 -3.52 1983 62232 62877 -645 -1.04 1984 62082 62616 -534 -0.86 1985 61507 62321 -814 -1.32 1986 61213 62939 -1726 -2.82 1987 61973 61938 35 0.06 เฉลี่ย 1.83

การเลือกรูปแบบตัวแบบเชิงสถิติ เป็นทั้ง art และ science ไม่มีกฎตายตัว นัยสำคัญทางสถิติและความสอดคล้องกับทฤษฎี

การใช้ตัวแบบเชิงปริมาณ พยากรณ์ มีข้อสมมติว่าโครงสร้างของตัวแบบไม่เปลี่ยน เช่น ความยืดหยุ่นต่างๆ การวิเคราะห์นโยบาย เช่น ถ้ารัฐบาลเก็บภาษีเบียร์จะมีผลต่อพฤติกรรมการบริโภคเบียร์อย่างไร? ต้องมีการ update ตัวแบบ ตัวอย่างการสร้างตัวแบบ ไฟฟ้า น้ำมัน