Pascal Programming Language โปรแกรมภาษาปาสคาล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ครั้งที่ 9 Function(ต่อ).
Advertisements

Introduction to C Introduction to C.
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟังก์ชั่นในภาษาซี.
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
บทที่ 2 ภาษาปาลคาลเบื้องต้น.
การรับค่าและแสดงผล.
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
LAB # 3 Computer Programming 1
องค์ประกอบของโปรแกรม
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
คำสั่งแบบเลือกทำ Week 6.
Introduction to C Programming.
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
ภาษาปาสคาล บทนำ.
Visual Basic 6 By Samaporn Yendee VB6.
การแสดงผลและ รับข้อมูล. คำสั่ง Write เป็นคำสั่งที่นำข้อมูลที่ ต้องการแสดงผลที่ จอภาพเมื่อตอนสั่งรัน โปรแกรมไม่ว่าจะ เป็นข้อมูลประเภทข้อความ ตัวเลข การ.
การแสดงผล และการรับข้อมูล
รับและแสดงผลข้อมูล.
รูปแบบโครงสร้างภาษาซี
PHP LANGUAGE.
โครงสร้างภาษาซี.
หน่วยที่ 2 ภาษาโปรแกรม และการออกแบบโปรแกรม
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
Properties ของคอนโทรล ที่ควรรู้จักในเบื้องต้น
ภาษาปาสคาล ผู้สร้าง Dr.Niklaus Wirth ปี 2513
การรับข้อมูล และ การแสดงผล
Week4 Data types, Variables, Operators and Input/output (ต่อ)
SCC : Suthida Chaichomchuen
วิธีการทำงานของผังงาน
ตัวอย่างการใช้คำสั่ง IF_THEN
คำสั่ง Repeat...Until คำสั่งควบคุมให้ทำงานซ้ำ
ตัวอย่างคำสั่ง FOR.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
ส่วนของการเขียนโค๊ด ใน VB การเขียนโค๊ดจะเป็นแบบ Event Driven
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 9 การรับและแสดงผลข้อมูล
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การใช้งานเบื้องต้นของเครื่องคิดเลขทางการเงิน
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ตัวอย่างการวิเคราะห์งาน และ การเขียนผังงานและซูโดโค้ด
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
โครงสร้างแบบลำดับ คำสั่ง x คำสั่ง y.
การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น
TURBO PASCAL OUTLINE 1. บทนำเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมภาษาปาสคาล
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
โดย อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และอัลกอรทึ่ม ( ) Lec04 : [ การแปลงจาก FlowChart.
โจทย์วิเคราะห์ปัญหาที่ 1
บทที่ 10 คำสั่งควบคุม OUTLINE 1. คำสั่งแบบเรียงลำดับ (Sequence)
การเขียนโปรแกรม ตอนที่ 1 (ต่อ)
วิชา COSC2202 โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
โครงสร้างภาษาซี #include <stdio.h> void main() {
คำสั่งทำซ้ำ for คำสั่ง for เป็นคำสั่งทำซ้ำในลักษณะ Definite loop คือทราบจำนวนรอบที่แน่นอนในการทำงาน ซึ่งจะใช้ตัวแปร 1 ตัวในการนับจำนวนรอบว่าครบตามกำหนดหรือไม่
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
Output of C.
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
โครงสร้าง ภาษาซี.
บทที่ สร้างงานเอกสารและการแก้ไข
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
1 บทที่ 5 โปรแกรมย่อย Part II Function. 2 ฟังก์ชัน (Function) เป็นชุดคำสั่งย่อยที่มีหน้าที่เฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง เหมือนกับ procedure สามารถมีการรับส่งค่าข้อมูล.
บทที่ 5 โปรแกรมย่อย.
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Pascal Programming Language โปรแกรมภาษาปาสคาล

คุณลักษณะของโปรแกรมภาษาปาสคาล เป็นโปรแกรมประเภทเท็กซ์โหมด มีทั้ง Version ที่รันบนดอส และบน Windows โปรแกรมที่ใช้เรียน รันบน Dos ชื่อ Turbo Pascal 7.0

เตรียมตัวก่อนบันทึก ก่อนบันทึก ควรสร้าง Folder จัดเก็บข้อมูลเสียก่อน คลิกขวา Start > Explorer คลิกเลือก Drive D: คลิกเมนู File > New > Folder พิมพ์ชื่อ Folder ... กรณีนี้ให้พิมพ์รหัสประจำตัวนักศึกษา

ขั้นตอนการใช้โปรแกรม คลิกเมนู Start > Dos Program > Turbo Pascal 7.0 กดปุ่ม Alt + Enter เพื่อขยายหน้าจอให้เต็ม

เริ่มต้นสร้างโปรแกรม คลิกเมนู File > New จะปรากฏหน้าต่างโปรแกรมเป็นหน้าจอสีฟ้า คลิกเมนู File > Save เพื่อบันทึกชื่อโปรแกรม

การบันทึก (Save) D:\432001\ชื่อไฟล์.pas เช่น D:\432001\Example01.pas เมื่ออยู่ที่หน้าจอบันทึก ให้พิมพ์ชื่อไฟล์เป็นภาษาอังกฤษและกำหนดนามสกุลของไฟล์ด้วย รูปแบบการตั้งชื่อไฟล์ D:\432001\ชื่อไฟล์.pas เช่น D:\432001\Example01.pas เมื่อพิมพ์ชื่อไฟล์เสร็จแล้วกดปุ่ม Enter สังเกตที่กลางหน้าจอโปรแกรมจะปรากฏชื่อไฟล์ที่บันทึกไว้ ในการบันทึกข้อมูลครั้งต่อไปให้กดปุ่ม F2

ปัญหาที่เกิดขึ้นเสมอในการบันทึก D:/432\Example 01 ไม่อ้างถึงแหล่งที่เก็บข้อมูล พิมพ์การอ้างถึงแหล่งการเก็บข้อมูลผิด ใช้เครื่องหมายในการอ้างถึงผิด พิมพ์ชื่อไฟล์แบบเว้นวรรค

โครงสร้างโปรแกรมพื้นฐาน Program ชื่อโปรแกรม ; Uses Crt; Begin Clrscr; Readln; End. หัวโปรแกรม เรียกใช้ฟังก์ชั่น เริ่มต้นโปรแกรม เคลียร์ข้อความบนจอภาพ คำสั่งโปรแกรมอื่น ๆ Break โปรแกรม จบโปรแกรม

Program exam01 ; Uses Crt; Begin Clrscr; Readln; End. ปิดท้ายโปรแกรมด้วยเซมิโคลอน Program exam01 ; Uses Crt; Begin Clrscr; Readln; End. End ตัวสุดท้ายต้องจบด้วยจุด

ตรวจสอบ (Compile) และดูผลงาน (Run) คลิกปุ่ม Alt + C > เลือกเมนู Compile

ตัวอย่างกรณีพิมพ์โปรแกรมผิด Program exam01 Uses Crt; Begin Clscr; Readln; End. ลบเครื่องหมาย ; ออกแล้ว compile ลบตัว r ออกแล้ว Compile

การแสดงผลโปรแกรม (Run) หลังจาก Compile ผ่านเรียบร้อยแล้ว ให้แสดงผลการทำงานของโปรแกรม โดย กดปุ่ม Art + R > เลือก Run สังเกตุผลงาน กดปุ่ม Enter เพื่อกลับเข้าหน้าจอโปรแกรม

กฎการตั้งชื่อไฟล์ ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะ ห้ามใช้สัญลักษณ์พิเศษ เช่น + - * # @ ห้ามเว้นช่องว่างระหว่างชื่อ เช่น exam 01 ห้ามใช้คำสงวน (Reserve Word) เช่น begin, end , program, var ฯลฯ เพราะจะไปซ้ำกับคำสั่ง ชื่อควรสั้น กะทัดรัด และสื่อความหมาย

คำสั่งแสดงข้อความ Write รูปแบบ ข้อความจะเปลี่ยนไปตามที่ต้องการ Write(‘ข้อความ’) ; Write(‘Welcome’) ;

Write(‘Welcome’) ; เพิ่มเติมข้อความ Write(‘My name is ชื่อนักศึกษา’) ; Alt + C Alt + R WelcomeMy name is ชื่อนักศึกษา ข้อความที่พิมพ์จะติดกัน และอยู่บรรทัดเดียวกัน

คำสั่งแสดงข้อความ Writeln WriteLn(‘Welcome’) ; WriteLn (‘My name is ชื่อนักศึกษา’) ; Alt + C Alt + R Welcome My name is ชื่อนักศึกษา

การจัดข้อความกึ่งกลาง Writeln(‘ Welcome’) ; Writeln (‘My name is ชื่อนักศึกษา’) ; Alt + C Alt + R Welcome My name is ชื่อนักศึกษา

ตัวอย่าง Welcome My name is ชื่อนักศึกษา I am 15 year old Alt + C Alt + R Welcome My name is ชื่อนักศึกษา I am 15 year old I study at รร. อรรถวิทย์พณิชยการ ------------------------------------------ Please enter to exit now -*- >

รหัสสี คือ เลขจำนวนเต็ม 1- 125 การกำหนดสีตัวอักษร รูปแบบ รหัสสี คือ เลขจำนวนเต็ม 1- 125 Textcolor (รหัสสี) ; Writeln( ‘ข้อความ’ ); Textcolor (5) ; Writeln( ‘Welcome’ );

การกำหนดสีตัวอักษรกะพริบ รูปแบบ รหัสสี คือ เลขจำนวนเต็ม 1- 125 Textcolor (รหัสสี+127) ; Writeln( ‘ข้อความ’ ); Textcolor (5+127) ; Writeln( ‘Welcome’ );

แบบทดสอบ > New > Exam02 Alt + C Alt + R ATTAWIT COMMERCIAL COLLEGE Computer Department PWS 2 ------------------------------------------ Enter to exit >

ตำแหน่ง คือ เลขจำนวนเต็ม ไปได้ดั่งใจ Gotoxy รูปแบบ ตำแหน่ง คือ เลขจำนวนเต็ม Gotoxy (ต.แนวนอน,ต.แนวตั้ง) ; Writeln( ‘ข้อความ’ ); Gotoxy (10,15) ; Writeln( ‘PWS 2’ );

ให้แทรกคำสั่งดังนี้ Gotoxy (15,5) ; Writeln( ‘Number’ ); Writeln( ‘Name’ ); Gotoxy (15,25) ; Writeln( ‘Price’ ); Gotoxy (15,35) ; Writeln( ‘Amount’ );

สามารถตกแต่งโปรแกรมได้ตามความต้องการ แบบทดสอบ กิจกรรม ฝึกเขียนโปรแกรม Exam21 หน้า 27 ให้บันทึกเป็น Exam3.pas แบบฝึกหัดข้อ 2 หน้า 33 ข้อ 2.1 บันทึกเป็น Exam4.pas ข้อ 2.4 บันทึกเป็น Exam5.pas สามารถตกแต่งโปรแกรมได้ตามความต้องการ

การรับค่าตัวแปร ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่สมมติขึ้นมาเพื่อใช้ในการจัดเก็บข้อมูลนั้น ๆ ไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ กฎการตั้งชื่อตัวแปร จะมีลักษณะเดียวกับกฎการตั้งชื่อไฟล์

รูปแบบการประกาศตัวแปร Var ชื่อตัวแปร : ชนิดข้อมูล ; Var price : Integer ;

Program exam06 ; Uses Crt; Var Price : Integer ; Begin Crlscr; Readln; End. Alt + C

ชนิดของข้อมูลพื้นฐาน กลุ่มตัวเลข เลขจำนวนเต็ม  Integer เลขที่จุดทศนิยม  Real กลุ่มตัวอักษร พยัญชนะตัวเดียว  Char พยัญชนะหลายตัว  String

กลุ่มตัวเลข เลขจำนวนเต็ม เช่น ข้อมูล ชื่อตัวแปร ตัวอย่างข้อมูล เลขจำนวนเต็ม เช่น ข้อมูล ชื่อตัวแปร ตัวอย่างข้อมูล ราคาสินค้า price 20, 50, 60, 5 คะแนนสอบ score 0, -10, 25, 35 เงินเดือน salary 1000, 25000 จำนวนสินค้า amount 120, 500 อัตราค่าแรง Rate 180,190,250 ค่าล่วงเวลา OT 50,300 เลขจำนวนเต็ม number 20,150,300

กลุ่มตัวเลข เลขที่มีทศนิยม เช่น ข้อมูล ชื่อตัวแปร ตัวอย่างข้อมูล เลขที่มีทศนิยม เช่น ข้อมูล ชื่อตัวแปร ตัวอย่างข้อมูล ราคาสินค้า price 20.50, 50.25 เงินเดือน salary 1000.50, 2500.75 ภาษี Vat 0.07, 0.10 ค่าเฉลี่ย Average 29.25,77.88 ดอกเบี้ย Interest 0.10, 0.25

กลุ่มตัวอักษร พยัญชนะตัวเดียว เช่น ข้อมูล ชื่อตัวแปร ตัวอย่างข้อมูล พยัญชนะตัวเดียว เช่น ข้อมูล ชื่อตัวแปร ตัวอย่างข้อมูล เกรด Grade A,B,C,D,F เพศ Sex M,F สถานะภาพ Status M,S

กลุ่มตัวษร พยัญชนะมากกว่า 1 ตัว เช่น ข้อมูล ชื่อตัวแปร ตัวอย่างข้อมูล พยัญชนะมากกว่า 1 ตัว เช่น ข้อมูล ชื่อตัวแปร ตัวอย่างข้อมูล ชื่อ Name John, Apple เพศ Sex Male, Female เบอร์โทร phone 081-3358765

ข้อมูลนี้ คือ พยัญชนะ มีพยัญชนะผสม เช่น กท-005 ข้อมูลนี้ คือ พยัญชนะ มีพยัญชนะผสม เช่น กท-005 มีเครื่องหมายพิเศษผสม เช่น 86/2550 เว้นช่องว่างระหว่างข้อมูล 99 9999 ขั้นต้นด้วยเลข 0 เช่น 02-3345967 ข้อมูลที่ไม่ต้องการใช้ในการคำนวณ เช่น รหัสนักศึกษา 430001 หรือ รหัสสินค้า ฯ

แบบทดสอบ เตรียมประกาศตัวแปร ประกาศตัวแปร ชื่อ id เป็นแบบ String ประกาศตัวแปร ชื่อ name เป็นแบบ String ประกาศตัวแปร ชื่อ age เป็นแบบ Integer ประกาศตัวแปร ชื่อ salary เป็นแบบ Real

การประกาศตัวแปรที่มีชนิดเดียวกัน Var Price : Integer ; id : String ; name : String ; age : Integer ; Salary : Real ; Var Price,age : Integer ; id,name : String ; Salary : Real ;

การรับค่าตัวแปรผ่านคีย์บอร์ด Readln(ชื่อตัวแปร) ; จะใช้ควบคู่กับคำสั่ง Write เพื่อแจ้งให้ผู้คีย์ทราบว่ากำลังจะรับค่าตัวแปรอะไร

Write(‘Input your Id = ‘); Readln(Id); Write(‘What is your name = ‘); Readln(name); Write(‘Age = ‘); Readln(age);

การกำหนดค่าคงที่ให้กับตัวแปร เช่น Assignment คือ เก็บค่าทางด้านซ้ายให้กับทางด้านขวา Price := 200.50 ; ทดลองคอมไพล์ Error ชนิดนี้เกิดขึ้นจากกรณีที่ตัวแปร Price ประกาศไว้เป็นแบบ Integer แต่เวลารับค่าจริงกับมีจุดทศนิยม ที่ถูกต้องตัวแประ Price ควรประกาศเป็น…. หรือรับค่าตัวแปรที่ไม่มีทศนิยม

Amount เป็นตัวแปร ดังนั้นจะต้องประกาศ จึงสามารถ compile โปรแกรมได้ Price := 200 ; จงรับค่าตัวแปรจำนวนสินค้า Write(‘Input Amount = ‘); Readln(Amount); Amount เป็นตัวแปร ดังนั้นจะต้องประกาศ จึงสามารถ compile โปรแกรมได้

การใช้ตัวแปรเก็บผลลัพธ์จากการคำนวณ เช่น ยอดรวม = ราคาสินค้า x จำนวนสินค้า ตัวแปร ตัวแปร * ตัวแปร Total := price * amount ; Total เป็นตัวแปรเก็บค่าผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการคำนวณ

การแสดงค่าของตัวแปร Write(‘ข้อความบอกว่าคือค่าอะไร =‘ , ชื่อตัวแปร) ; เช่น ต้องการแสดงค่าของตัวแปร Total Writeln(‘Total =‘ , total) ; ชื่อตัวแปรตามที่ประกาศ ข้อความบอกว่าคือค่าอะไร

ใช้คำสั่งคำนวณส่วนลด 10% ส่วนลด = ยอดรวม คูณ 10% ส่วนลด = ยอดรวม คูณ 10% 7% เท่ากับ 7/100 หรือ 0.07 Disc = total * 0.1 ; Writeln(‘Discount = ‘, Disc); ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีทศนิยมมาก จึงต้องกำหนดจำนวนจุดทศนิยม Writeln(‘Discount = ‘, Disc:8:2); ใช้ได้ในกรณีที่ตัวแปรนั้นเป็น ประเภทมีทศนิยมเท่านัน เป็นการกำหนดทศนิยม 2 ตำแหน่ง

คำนวณยอดหลักหักส่วนลด ยอดรวม =ยอดรวม หัก ส่วนลด Total = total – disc ; Writeln(‘Total = ‘,total:8:2);

Writeln(‘Vat = ‘, vat:8:2); ใช้คำสั่งคำนวณภาษี 7% ภาษี = ยอดรวม คูณ 7% 7% เท่ากับ 7/100 หรือ 0.07 Vat = total * 0.07 ; Writeln(‘Vat = ‘, vat:8:2);

คำนวณยอดสุทธิ ยอดสุทธิ =ยอดรวม บวก ภาษี Net = total + vat ; ยอดสุทธิ =ยอดรวม บวก ภาษี Net = total + vat ; Writeln(‘Net = ‘, net:8:2);

แบบทบทวน ให้นักศึกษาเตรียมโครงสร้างโปรแกรม และเขียนโปรแกรมตามคำสั่งทีละประโยคคำสั่งตามที่อาจารย์กำหนด

เตรียมโครงสร้างโปรแกรม คำสั่งแสดงข้อความว่า ยินดีต้อนรับ คำสั่งแสดงเครื่องหมาย hyphen พอประมาณเกือบเต็มบรรทัด คำสั่งขึ้นบรรทัดใหม่ 2 บรรทัด ประกาศตัวแปร รหัสนักศึกษา (id) ขนาด 5 ตัวอักษร

ประกาศตัวแปรชื่อนักศึกษา(name) ขนาด 30 ตัวอักษร คำสั่งรับค่าตัวแปรอายุ (age) ของนักศึกษา คำสั่งรับค่าตัวแปรส่วนสูง (high) คำสั่งรับค่าตัวแปรเงินเดือน (salary) เป็นเลขจำนวนเต็ม ไม่มีทศนิยม มีค่าสูงสุดไม่เกิน 20,000 บาท คำสั่งคำนวณเงินโบนัสของพนักงาน เท่ากับ 20% ของเงินเดือน แสดงค่าของตัวแปรเงินโบนัสของพนักงาน กำหนดจำนวนทศนิยม 3 ตำแหน่ง

แบบทบทวน เตรียมโครงสร้างโปรแกรม คำสั่งแสดงเครื่องหมาย hyphen พอประมาณเกือบเต็มบรรทัด คำสั่งแสดงข้อความว่า ตั้งชื่อบริษัท คำสั่งขึ้นบรรทัดใหม่ 1 บรรทัด

แบบทบทวน กำหนดค่าตัวแปรคงที่ Stock เท่ากับ 2,000 คำสั่งรับค่าตัวแปรจำนวนสินค้าที่ซื้อเข้ามาเก็บในคลังสินค้า คำสั่งคำนวณค่า Stock สุทธิ คำสั่งรับค่าตัวแปรจำนวนสินค้าที่ขายไป

แบบทบทวน คำสั่งคำนวณจำนวนสินค้าที่ต้องสั่งซื้อ เท่ากับ 10% ของจำนวนสินค้าคงเหลือ คำสั่งแสดงค่าจำนวนสินค้าที่สั่งซื้อ

แบบฝึกห้ด จงเขียนโปรแกรมรับค่าตัวแปร รหัสบัตรประชาชน ชื่อบัญชี จำนวนเงินที่ฝาก คำนวณดอกเบี้ยที่ได้รับ คิดให้ 6% ของยอดเงินฝาก

แบบฝึกห้ด จงเขียนโปรแกรมหาค่ารายได้สะสมของเงินเดือนพนักงานจำนวน 6 เดือน คำสั่งรับค่ารายจ่ายของพนักงาน ได้แก่ ค่าน้ำ ค่าไฟฟ้า ค่าโทรศัพท์ ค่าเช่าห้อง พร้อมทั้งหาค่ารายจ่ายสะสม คำสั่งคำนวณเงินคงเหลือ เท่ากับ รายได้สะสม หัก รายจ่ายสะสม