1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การใช้โปรแกรม SPSS ในการตรวจสอบการแจกแจงของข้อมูล
Advertisements

คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ค่ามัธยฐาน จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม.
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
บทที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพ
อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี
ยินดีต้อน เข้าสู่ โครงงาน.
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม
ค่าแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ค่าการกระจาย ค่ามาตรฐาน
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
안녕하세요. ( อัน-นยอง-ฮา-เซ-โย )
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
การวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา
สถิติพื้นฐานที่มีโอกาสนำไปใช้บ่อย
บทที่2 การแจกแจงความถี่ (Frequency Distributions)
Training Management Trainee
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
แนวทางการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการทดสอบระดับชาติ (o – net) ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนสรวงสุทธาวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต.
วิชาเศรษฐศาสตร์ รศ.ดร. ชวินทร์ ลีนะบรรจง.
สถานการณ์ความยากจน ของประเทศไทย
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
เทคนิคการประเมินผลการเรียนการสอน (การให้ระดับคะแนน:เกรด)
บทที่ 1 สถิติ สถิติ หมายถึง ตัวเลขที่แสดงข้อเท็จจริง อย่างใดอย่างหนึ่ง
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
2 การเก็บรวบรวมข้อมูล Data Collection.
Graphical Methods for Describing Data
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
การวิเคราะห์ ประมวลผล และนำเสนอข้อมูล
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
กระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์
EC411 ทฤษฏีและนโยบายการเงิน
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การตัดสินใจเบื้องต้น : สถิติเบื้องต้น (Introduction to statistics)
Kampol chanchoengpan it สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ Arithmetic and Logic Unit 1.
สถิติ Statistics โดย น.ท.อนุรักษ์ โชติดิลก
สถิติในการวัดและประเมินผล
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
การแจกแจงปกติ.
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
สถิติสำหรับการวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ท้ายเรือคำ
สถิติธุรกิจ BUSINESS STATISTICS.
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
(Descriptive Statistics)
การลงข้อมูลแผนการสอน
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
โรงเรียนวังไกลกังวล หัวหิน
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
แผนการจัดการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
การค้นในปริภูมิสถานะ
กราฟเบื้องต้น.
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection) 2. การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis) 3. การนำเสนอข้อมูล (Data Presentation) 4. การตีความหมายข้อมูล (Data Interpretation)

1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection) เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อนำมาวิเคราะห์ ซึ่งอาจจะประกอบด้วยข้อมูลปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และเป็น ข้อมูลทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ 1.1 การสำมะโน (Census) เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลจากทุกๆหน่วยใน ประชากรที่ทำการศึกษา 1.2 การสำรวจตัวอย่าง (Sample Survey) เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลจากเพียงบางหน่วยของประชากร เพื่อที่จะได้ตัวแทนที่ดีของประชากร

1.3 การเก็บรวบรวมข้อมูลจากการทดลอง วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล การสัมภาษณ์ (Interview) การส่งไปรษณีย์ (Mail) การทอดแบบ โทรศัพท์ การชั่ง ตวง วัด นับ การสังเกต

2. การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis) หลังจากที่ได้ข้อมูลมาแล้ว นำมาวิเคราะห์โดย สถิติเชิงพิจารณา หรือ สถิติอนุมานแล้วแต่ความเหมาะสม

3. การนำเสนอข้อมูล (Data Presentation) การนำเสนอข้อมูลในรูปแบบของบทความ การนำเสนอข้อมูลในรูปตาราง การนำเสนอข้อมูลในรูปกราฟ แผนภูมิแท่ง (Bar Chart) แผนภาพวงกลม (Pie Chart) แผนภาพเชิงเส้น (Line Chart) ฮิสโตแกรม (Histogram) แผนภาพลำต้นและใบ (Stem and Leaf) แผนภูมิ Box plot

3. การนำเสนอข้อมูล (Data Presentation) การนำเสนอข้อมูลในรูปแบบของบทความ

3. การนำเสนอข้อมูล (Data Presentation) การนำเสนอข้อมูลในรูปตาราง

3. การนำเสนอข้อมูล (Data Presentation) การนำเสนอข้อมูลในรูปกราฟ แผนภูมิแท่ง (Bar Chart)

3. การนำเสนอข้อมูล (Data Presentation) การนำเสนอข้อมูลในรูปกราฟ แผนภูมิแท่ง (Bar Chart)

3. การนำเสนอข้อมูล (Data Presentation) การนำเสนอข้อมูลในรูปกราฟ แผนภาพวงกลม (Pie Chart)

3. การนำเสนอข้อมูล (Data Presentation) การนำเสนอข้อมูลในรูปกราฟ แผนภาพเชิงเส้น (Line Chart)

3. การนำเสนอข้อมูล (Data Presentation) การนำเสนอข้อมูลในรูปกราฟ แผนภาพเชิงเส้น (Line Chart)

3. การนำเสนอข้อมูล (Data Presentation) การนำเสนอข้อมูลในรูปกราฟ ฮิสโตแกรม (Histogram)

3. การนำเสนอข้อมูล (Data Presentation) การนำเสนอข้อมูลในรูปกราฟ ฮิสโตแกรม (Histogram)

3. การนำเสนอข้อมูล (Data Presentation) การนำเสนอข้อมูลในรูปกราฟ แผนภาพลำต้นและใบ (Stem and Leaf)

3. การนำเสนอข้อมูล (Data Presentation) การนำเสนอข้อมูลในรูปกราฟ บ็อกพลอต (Box Plot or Box and Whisker plot)

4. การตีความหมายข้อมูล (Data Interpretation) เป็นการสรุปค่าตัวเลขทางสถิติ ว่ามีความหมายอย่างไร

1.8 การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง (Measure of central tendency) เป็นการหาค่าตัวกลางซึ่งเป็นเครื่องมือทางสถิติเบื้องต้น ที่มีประโยชน์มากในบางครั้งข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้ ผู้วิเคราะห์อาจต้องการทราบว่าค่ากลางของข้อมูลเป็นเท่าใด ซึ่งจะช่วยให้เข้าใจโดยสรุปเกี่ยวกับข้อมูล โดยพิจารณาจากค่ากลางเพียงค่าเดียว

จงหาค่าจ้างรายวันเฉลี่ยโดยรวมของพนักงานทั้ง 4 กลุ่มนี้ ตัวอย่าง 1.6 โรงงานแห่งหนึ่งมีพนักงาน 36, 45, 28 และ 41 คน ที่ได้รับค่าจ้างรายวันเฉลี่ย 162.5, 170.2, 159.5 และ 167 บาท ตามลำดับ จงหาค่าจ้างรายวันเฉลี่ยโดยรวมของพนักงานทั้ง 4 กลุ่มนี้

ตัวอย่าง 1.7

47 L5 = 49.5

L5 = 49.5

ความสัมพันธ์ระหว่าง Mean , Median และ Mode

1.9 การวัดการกระจายของข้อมูล หลัก เป็นการวิเคราะห์ว่าข้อมูลมีลักษณะเป็นอย่างไร การวัดการกระจายของข้อมูลแบ่งเป็น 2 แบบ คือ 1. การวัดการกระจายสัมบูรณ์ 2.การวัดการกระจายสัมพัทธ์

1. การวัดการกระจายสัมบูรณ์ เป็นการวัดการกระจายข้อมูลเพียงชุดเดียว พิสัย ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

2.การวัดการกระจายสัมพัทธ์ เป็นการวัดการกระจาย เมื่อต้องการเปรียบเทียบ การกระจายของข้อมูลแต่ละกลุ่ม 1. สปส.ของพิสัย 2. สปส.ของส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ 3. สปส.ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย 4. สปส.ของการแปรผัน

1.9.1 พิสัย 1. กรณีข้อมูลไม่ได้แจกแจงความถี่ พิสัย = ค่าสูงสุด - ค่าต่ำสุด 2. กรณีข้อมูลแจกแจงความถี่ พิสัย = ขอบบนของอันตรภาคชั้นค่ามากสุด - ขอบล่างของอันตรภาคชั้นน้อยสุด

1.9.2 ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย 1. กรณีข้อมูลไม่ถูกจัดเป็นอันตรภาคชั้น ให้ X1,X2,…,Xn เป็นข้อมูลมีค่าเฉลี่ยเป็น

1.9.3 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.9.3 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน กรณีข้อมูลไม่จัดเป็นอันตรภาคชั้น

กรณีข้อมูลจัดเป็นอันตรภาคชั้น

1.9.4 ความแปรปรวน กรณีข้อมูลไม่ได้จัดเป็นอันตรภาคชั้น

กรณีข้อมูลจัดเป็นอันตรภาคชั้น

การวัดการกระจายสัมพัทธ์ เป็นการเปรียบเทียบเมือมีข้อมูลตั้งแต่ 2 กลุ่ม เป็นต้นไป 1. สปส.ของพิสัย 2.สปส.ของส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ 3. สปส.ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย 4. สปส.ของการแปรผัน