งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา
บทที่ 7 การวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา BC428 : Research in Business Computer

2 ประเภทสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล
สถิติเชิงพรรณนา(Descriptive Statistics) สถิติเชิงอนุมาน(Inference Statistics) BC428 : Research in Business Computer

3 Descriptive Statistics
• ตารางแจกแจงความถี่(Frequency Table) • การวัดค่ากลางของข้อมูล(Measure of Central Tendency)  ค่าเฉลี่ย , ค่ามัธยฐาน , ค่าฐานนิยม  เปอร์เซ็นต์ไทล์, เดไซล์ , ควอไทล์ • การวัดการกระจายของข้อมูล(Measure of Dispersion)  ค่าพิสัย , ค่าพิสัยควอไทล์ , ค่าความแปรปรวน , ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน , ค่าคลาดเคลื่อนมาตรฐานของค่าเฉลี่ย , ค่าความเบ้ , ค่าความโด่ง BC428 : Research in Business Computer

4 ค่าความเบ้(Skewness)
Negative Skewness Normal Positive Skewness ค่าความเบ้(Skewness) ความโด่ง(Kutosis) Leptokurtic Mesokurtic Platykurtic BC428 : Research in Business Computer

5 การนำเสนอด้วยตารางแจกแจงความถี่(Frequency Table)
ตารางแจกแจงความถี่แบบทางเดียว ตารางแจกแจงความถี่แบบสองทาง ตารางแจกแจงความถี่แบบ Multiple Response BC428 : Research in Business Computer

6 1.ตารางแจกแจงความถี่แบบทางเดียว
เหมาะสำหรับการนำเสนอข้อมูลเพียง 1 ตัวแปร เลือกคำตอบได้เพียงคำตอบเดียว คำสั่ง Analyze  Descriptive Statistics  Frequencies ... BC428 : Research in Business Computer

7 Ex1 ผลลัพธ์จากไฟล์ไฟล์ Example.sav (ตัวแปร Sex)
จากผลลัพธ์ของโปรแกรม SPSS จะต้องนำผลที่ได้มาวิเคราะห์ โดยการสร้างตารางใหม่(ไม่นิยมนำผลลัพธ์จากโปรแกรมมาจัดวางในผลการวิเคราะห์ของงานวิจัย) ซึ่งจะเลือกแสดงผลลัพธ์ในคอลัมน์ Frequency และ Valid Percent แสดงตารางและคำอธิบายดังนี้ เพศ จำนวน(คน) ร้อยละ ชาย 29 29.0 หญิง 71 71.0 รวม 100 จากตารางแสดงจำนวนผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 100 คน โดยจำแนกตามเพศ พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามเป็นเพศชาย 29 คน คิดเป็นร้อยละ ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด และเป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 71.0 ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด BC428 : Research in Business Computer

8 Ex2ผลลัพธ์จากไฟล์ไฟล์ Example.sav (ตัวแปร Campus)
ดังนั้น จะสามารถเขียนผลการวิเคราะห์เป็นตารางและคำอธิบาย ดังนี้ วิทยาเขต จำนวน(คน) ร้อยละ กล้วยน้ำไท 42 43.3 รังสิต 55 56.7 รวม 97 100.0 Missing 3 จากตารางแสดงจำนวนผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 100 คน โดยจำแนกตามวิทยาเขต พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามสังกัดวิทยาเขตกล้วยน้ำไทมีจำนวน 42 คน คิดเป็นร้อยละ 43.3 ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด และสังกัดวิทยาเขตรังสิตมีจำนวน 55 คน คิดเป็นร้อยละ 56.7 ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด BC428 : Research in Business Computer

9 2.ตารางแจกแจงความถี่แบบสองทาง
เรียกว่าตารางไขว้(Crosstab) เหมาะกับการหาความถี่ของตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัว ข้อมูลเชิงคุณภาพ คำสั่ง Analyze  Descriptive Statistics  Crosstabs... BC428 : Research in Business Computer

10 Ex จากไฟล์ Example.sav สร้างตารางCrosstab ตัวแปร Sex กับ Edu โดยกำหนดให้ Sex เป็นแกนนอน และ Edu เป็นแกนตั้ง BC428 : Research in Business Computer

11 จากผลลัพธ์ของโปรแกรม SPSS จะต้องนำผลที่ได้มาวิเคราะห์ โดยการสร้างตารางใหม่(ไม่นิยมนำผลลัพธ์จากโปรแกรมมาจัดวางในผลการวิเคราะห์) โดยแสดงตารางและคำอธิบายดังนี้ เพศ ระดับการศึกษา ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก จำนวน (คน) ร้อยละ ชาย 5 5.0 23 23.0 1 1.0 หญิง 2 2.0 63 63.0 6 6.0 รวม 7 7.0 86 86.0 จากตารางแสดงจำนวนผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมดของแต่ละเพศ โดยจำแนกตามระดับการศึกษาของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ในระดับปริญญาตรี ส่วนใหญ่เป็นเพศชายจำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 5.0 ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด ในระดับปริญญาโท ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงจำนวน 63 คน คิดเป็นร้อยละ ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด และในระดับปริญญาเอก ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงจำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 6.0 ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด BC428 : Research in Business Computer

12 3. ตารางแจกแจงความถี่แบบ Multiple Response
เหมาะกับคำถามที่ผู้ตอบเลือกตอบได้หลายคำตอบ Ex กิจกรรมที่ท่านนิยมทำในการใช้บริการอินเทอร์เน็ต (เลือกตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)  สนทนาออนไลน์ ทาง MSN, ICQ เป็นต้น  อ่านจดหมายอิเล็กทรอนิกส์( )  ค้นคว้าข้อมูล ข่าวสารต่าง ๆ  ดาวน์โหลดไฟล์ หรือโปรแกรมต่าง ๆ  ซื้อสินค้าออนไลน์(Online Shopping)  อื่น ๆ โปรดระบุ BC428 : Research in Business Computer

13 BC428 : Research in Business Computer

14 ขั้นตอนการวิเคราะห์ ขั้นตอนที่ 1. จัดตัวแปรทั้งหมด ให้เป็นกลุ่มเดียวกัน คำสั่ง Analyze  Multiple Response  Define Sets.. ขั้นตอนที่ 2. วิเคราะห์หาความถี่ข้อมูล คำสั่ง Analyze  Multiple Response  Frequencies … BC428 : Research in Business Computer

15 จะได้ผลลัพธ์ดังนี้ Multiple Response
BC428 : Research in Business Computer

16 กิจกรรมบนอินเทอร์เน็ต
จากผลลัพธ์ของโปรแกรม SPSS จะต้องนำผลที่ได้มาวิเคราะห์ โดยการสร้างตารางใหม่(ไม่นิยมนำผลลัพธ์จากโปรแกรมมาจัดวางในผลการวิเคราะห์) โดยแสดงตารางและคำอธิบายดังนี้ กิจกรรมบนอินเทอร์เน็ต จำนวนผู้ตอบ ร้อยละ (ของการถูกเลือก) สนทนาออนไลน์ 11 19.0 ค้นคว้าข้อมูล 12 20.7 อ่านจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ 9 15.5 ดาวน์โหลดโปรแกรม 13 22.4 ซื้อสินค้าออนไลน์ 7 12.1 อื่น ๆ 6 10.3 รวม 58 100.0 จากตารางแสดงจำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม ในเรื่องกิจกรรมบนอินเทอร์เน็ต พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ใช้อินเทอร์เน็ต สำหรับการดาวน์โหลดโปรแกรม มีจำนวน 13 คน ซึ่งคิดเป็น ร้อยละ 22.4 ของกิจกรรมบนอินเทอร์เน็ต รองลงมาคือ การใช้อินเทอร์เน็ตสำหรับการค้นคว้าหาข้อมูล มีจำนวน 12 คน ซึ่งคิดเป็น ร้อยละ 20.7 ของกิจกรรมบนอินเทอร์เน็ต และกิจกรรมที่นิยมทำน้อยที่สุดคือ ในเรื่องอื่น ๆ เช่น ใช้ทำธุรกิจส่วนตัว ทำธุรกรรมทางการเงิน เป็นต้น มีจำนวน 6 คน ซึ่งคิดเป็น ร้อยละ 10.3 ของกิจกรรมบนอินเทอร์เน็ต BC428 : Research in Business Computer

17 การนำเสนอค่าสถิติเบื้องต้น
เหมาะสำหรับการอธิบายรายละเอียดต่าง ๆ ของข้อมูลเบื้องต้น ส่วนใหญ่ข้อมูลจะเป็นข้อมูลเชิงปริมาณ ในการนำเสนอค่าสถิติเบื้องต้น วิเคราะห์ได้ 2 คำสั่งคือ 1. คำสั่ง Descriptives 2. คำสั่ง Explore BC428 : Research in Business Computer

18 การนำเสนอค่าสถิติเบื้องต้น ด้วยคำสั่ง Descriptive
Analyze Descriptive Statistics Descriptives BC428 : Research in Business Computer

19 จากไฟล์ Example.sav ผลการวิเคราะห์ ตัวแปร Exp
จากผลลัพธ์ของโปรแกรม SPSS สามารถนำมาวิเคราะห์ข้อมูล พร้อมคำอธิบายดังนี้ N ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(SD) ประสบการณ์ 91 9.37 6.70 จากตารางแสดงประสบการณ์การทำงาน พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามจำนวนทั้งหมด 91 คน มีประสบการณ์การทำงานเฉลี่ยเท่ากับ 9.37 ปี BC428 : Research in Business Computer

20 การนำเสนอค่าสถิติเบื้องต้น ด้วยคำสั่ง Explore
จำแนกวิธีการวิเคราะห์ได้ 2 แบบ ค่าสถิติเบื้องต้นแบบไม่แบ่งกลุ่ม ค่าสถิติเบื้องต้นแบบแบ่งกลุ่ม BC428 : Research in Business Computer

21 คำสั่ง Explore แบบไม่แบ่งกลุ่ม
Analyze Descriptive Statistics Explore... Ex หาค่าสถิติเบื้องต้นของตัวแปร Exp BC428 : Research in Business Computer

22 1 2 3 BC428 : Research in Business Computer

23 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(SD)
จากผลลัพธ์ของโปรแกรม SPSS สามารถนำมาวิเคราะห์ข้อมูล พร้อมคำอธิบายดังนี้ ตารางการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของประสบการณ์ N ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(SD) ประสบการณ์ 91 9.37 6.70 จากตารางแสดงประสบการณ์การทำงาน พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามจำนวนทั้งหมด 91 คน มีประสบการณ์การทำงานเฉลี่ยเท่ากับ 9.37 ปี BC428 : Research in Business Computer

24 คำสั่ง Explore แบบแบ่งกลุ่ม
Analyze Descriptive Statistics Explore... Ex หาค่าสถิติเบื้องต้นของตัวแปร Exp จำแนกตาม Sex BC428 : Research in Business Computer

25 BC428 : Research in Business Computer

26 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(SD)
จากผลลัพธ์ของโปรแกรม SPSS สามารถนำมาวิเคราะห์ข้อมูล พร้อมคำอธิบายดังนี้ ตารางการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของประสบการณ์จำแนกตามเพศ ประสบการณ์ N ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(SD) เพศชาย เพศหญิง 26 65 9.42 9.35 6.319 6.895 จากตารางแสดงประสบการณ์การทำงานจำแนกตามเพศ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นเพศชายจำนวน 26 คน มีประสบการณ์การทำงานเฉลี่ยเท่ากับ 9.42 ปี และเป็นเพศหญิง 65 คน มีประสบการณ์ทำงานเฉลี่ยเท่ากับ 9.35 ปี BC428 : Research in Business Computer

27 การนำเสนอข้อมูลในรูปแบบแผนภาพหรือกราฟ
กราฟวงกลม กราฟแท่ง เหมาะกับข้อมูลเชิงคุณภาพ กราฟเส้น ฮีสโตรแกรม Boxplot Stem&Leaf เหมาะกับข้อมูลเชิงประมาณ BC428 : Research in Business Computer

28 การนำเสนอข้อมูลในรูปแบบแผนภาพหรือกราฟของข้อมูลเชิงคุณภาพ
กราฟวงกลม คำสั่ง Analyze Graphs Pie.. BC428 : Research in Business Computer

29 กราฟแท่ง คำสั่ง Analyze Graphs Bar..
BC428 : Research in Business Computer

30 กราฟเส้น คำสั่ง Analyze Graphs Line..
BC428 : Research in Business Computer

31 ฮีสโตรแกรม Boxplot Stem&Leaf
คำสั่ง Analyze Descriptive Statistics Explore BC428 : Research in Business Computer

32 BC428 : Research in Business Computer

33 ตัวอย่างการเปรียบเทียบ Boxplot ของข้อมูล 2 กลุ่ม
BC428 : Research in Business Computer


ดาวน์โหลด ppt การวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google