อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างพื้นฐานสำหรับโทร มาตรเอนกประสงค์. COE สมาชิกในกลุ่มนายวิศัลย์ ประสงค์สุข นายศุภชัย ทองสุข อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการดร.
Advertisements

เครื่องกั้นรถไฟอัตโนมัติ
เพื่อเพิ่มคุณภาพของการให้บริการ Enhance Service Quality
รายละเอียดของการทำ Logbook
COE นายธีรพัฒน์ เสริตานนท์ รหัส นายปกรณ์ เตชะกิจกุล รหัส อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ. บุญฤทธิ์ กู้เกียรติกูล อาจารย์ร่วมประเมินโครงการ.
Holter Monitor เครื่องบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบพกพา
Device for single – phase ac parameter measurement
ระบบตรวจสอบคลังสินค้าเครื่องประดับทองรูปพรรณและเพชรพลอย โดยใช้เทคโนโลยีการจำแนกด้วยคลื่นความถี่วิทยุ
Device for single – phase ac parameter measurement
ระบบสรุปเอกสารภาษาไทย Thai-Text Summarization
Braille Cell อักษรเบรลล์เชิงกล
Guitar tuner นำเสนอโดย นาย สันติ พรหมดวงศรี รหัส
เครื่องพันขดลวด Coil Wiering Machine EE โดย นายวรวิทย์ เหล่าพิเชฐกุล นายมาโนชย์ ทองขาว อาจารย์ที่ปรึกษา.
ZigBee Data Analysis Using Vector Signal Analyzer
นางสาวสุรีย์พร ศรีภิรมย์
General Purpose Prepaid Payment System COE ระบบชำระค่าบริการ ด้วยบัตรเงินสด ผู้จัดทำ โครงการ นายธนิด นะทะศิริ รหัส นายพัฒนพงศ์ ศรีทวีกาศ.
ผู้ดำเนินโครงการ นายมนชิต วชิรพรพงศา รหัสนักศึกษา
COE เครื่องโหวตอิเล็กทรอนิกส์ไร้สาย Wireless electronic voter
COE Graphic Programming Language for PIC MCU โดย นาย ชาติชาย ดิลกลาภ นาย ธีระพงศ์ มุกดาพิพัฒน์กุล อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ.
Guitar tuner นำเสนอโดย นาย สันติ พรมดวงศรี รหัส
COE เครื่องโหวตอิเล็กทรอนิกส์ไร้สาย Wireless electronic voter
นางสาวสุรีย์พร ศรีภิรมย์
Guitar tuner นำเสนอโดย นาย สันติ พรหมดวงศรี รหัส
Low-speed UAV Flight Control Phase II
PC Based Electrocardiograph
Low-speed UAV Flight Control Phase II
อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน
COE เครื่องโหวตอิเล็กทรอนิกส์ไร้สาย wireless electronic voter
Low-speed UAV Flight Control Phase II
COE เครื่องโหวตอิเล็กทรอนิกส์ไร้สาย wireless electronic voter
เครื่องวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจโดยใช้PC
โดย นายมนชิต วชิรพรพงศา และ นายสรณัย จันทรโยธา
เครื่องวัดชีพจรแบบไร้สาย Wireless Heart Rate Monitor
Air Condition Efficiency Meter เครื่องวัดประสิทธิภาพเครื่องปรับอากาศ
อักษรเบรลล์เชิงกล (Braille Cell)
เครื่องกั้นรถไฟอัตโนมัติ
COE : ป้ายรถเมล์อัจฉริยะ Smart Bus Stop
โครงการเครือข่ายไฟจราจรอัจฉริยะ Intelligent Traffic Light Network
COE : ป้ายรถเมล์อัจฉริยะ Smart Bus Stop
Department of Computer Engineering, Khon Kaen University
โครงสร้างพื้นฐานสำหรับโทรมาตรเอนกประสงค์
Agenda วัตถุประสงค์ การออกแบบระบบ การทดสอบ ประโยชน์ที่ได้รับ
โปรแกรมออกแบบวงจรกรองความถี่ต่ำผ่านโดยใช้ค่าความต้านทานและตัวเก็บประจุมาตรฐาน โดย  นายชญาน์ แหวนหล่อ รหัส นายธนวัฒน์ วัฒนราช รหัส
โดย นายชญาน์ แหวนหล่อ นายธนวัฒน์ วัฒนราช
COE PC Based Electrocardiograph
ระบบคลังสินค้านม Milk Warehouse System
การแบ่งปันความลับเหนืออาร์เอ็สเอ (Secret Sharing over RSA)
โดย นายชญาน์ แหวนหล่อ นายธนวัฒน์ วัฒนราช
โครงการเครือข่ายไฟจราจรอัจฉริยะ Intelligent Traffic Light Network
Graphic Programming Language for PIC MCU
Holter Monitor เครื่องบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบพกพา
COE คณะวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
นางสาวสุรีย์พร ศรีภิรมย์
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
นางสาวสุรีย์พร ศรีภิรมย์
General Purpose TV Interfacing Module
PC Based Electrocardiograph
Holter Monitor เครื่องบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบพกพา
Department of Computer Engineering, Khon Kaen University
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร
Holter Monitor เครื่องบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบพกพา
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร
Graphic Programming Language for PIC MCU
Holter Monitor เครื่องบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบพกพา
รายละเอียดของการทำ Logbook
รายงานความก้าวหน้าโครงการ Wireless Sensor Network for Smart Home
Low-Speed UAV Flight Control System
จัดทำโดย นายศรัณยู ตรียะโชติ KKU นายธีรวัฒน์ ทองประมูล KMITL Position System ESTATE GROUP.
จัดทำโดย นายศรัณยู ตรียะโชติ KKU นายธีรวัฒน์ ทองประมูล KMITL Position System ESTATE GROUP.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

COE2010-05 เครื่องตั้งสายกีต้าร์และเมโทรโนม ระยะที่ 2 Guitar Tuner & Metronome Phase II อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ร่วมประเมินโครงการ ผศ.พิเชษฐ เชี่ยวธนะกุล ดร.วาธิส ลีลาภัทร โดย นายเปี่ยมศักดิ์ นัยกุล รหัส 503040244-4 นายวศกร คำเพราะ รหัส 503040256-7

Outline วัตถุประสงค์ของโครงการ แผนการดำเนินงานในช่วงที่ผ่านมา การออกแบบโปรแกรมการตั้งสาย การทำงานของเครื่องตั้งสายกีต้าร์ การออกแบบโปรแกรมเมโทรโนม การทำงานของเมโทรโนม การดำเนินงานช่วงถัดไป

วัตถุประสงค์ของโครงการ พัฒนาเครื่องตั้งสายกีต้าร์ โดยใช้การขัดจังหวะของ timer/counter ใน ไมโครคอนโทรลเลอร์ เพื่อหาคาบเวลาของสัญญาณกีต้าร์ แล้วแปลง เป็นความถี่ ใช้การขัดจังหวะของ timer/counter ในไมโครคอนโทรลเลอร์ เพื่อสร้าง เมโทรโนม

แผนการดําเนินงานในช่วงที่ผ่านมา ขั้นตอนการดำเนินโครงการ 2553 2554 มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ศึกษาข้อมูลเครื่องตั้งสายกีต้าร์บางยี่ห้อและศึกษาโครงงานระยะที่ 1 ออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์หรือส่วนกลไก แก้ไขและเพิ่มเติม เพื่อแก้ไขปัญหาจากระยะที่ 1 วิเคราะห์สิ่งที่ออกแบบเพื่อตรวจดูความเป็นไปได้และความถูกต้อง สร้างวงจรส่วนเครื่องตั้งสายและไมโครคอนโทรลเลอร์ สร้างวงจรเมโทรโนมและไมโครคอนโทรลเลอร์ ตรวจสอบระบบและการทำงานเมื่อรวมวงจรทั้งสองส่วน ทำ PCB และอุปกรณ์สำเร็จ เขียนรายงานผลการดำเนินโครงการ ดำเนินการ ดำเนินการช่วงถัดไป

แผนการดําเนินงานในช่วงที่ผ่านมา (ต่อ) วงจรอิเล็กทรอนิกส์ ไมโครคอนโทรลเลอร์ PCB และอุปกรณ์สำเร็จ การแสดงผล LCD ดำเนินการ ดำเนินการช่วงถัดไป

การออกแบบโปรแกรมการตั้งสาย PORT B0 จับสัญญาณ pulse สี่เหลี่ยมขาขึ้นของสัญญาณกีต้าร์ TMR1 จับเวลาในหน่วย us เมื่อ PORT B0 จับขาขึ้นของสัญญาณครบ 4 ครั้ง นำเวลาของTMR1 ทำการคำนาณเป็นความถี่โดย 1/(TMR1/3) นำค่าที่ได้เปรียบเทียบกับช่วงความถี่แต่ละสายที่กำหนดในโปรแกรม แสดงผลตำแหน่งสายที่มีความถี่ใกล้เคียงสายนั้นๆ การคำนวณหาความถี่

การออกแบบโปรแกรมการตั้งสาย(ต่อ) LCD แสดงว่าเป็นสายที่ 1 ช่วงความถี่จะเป็น ช่วง 288 Hz- 370 Hz LCD แสดงว่าเป็นสายที่ 2 ช่วงความถี่จะเป็น ช่วง 221 Hz - 288 Hz LCD แสดงว่าเป็นสายที่ 3 ช่วงความถี่จะเป็น ช่วง 171 Hz - 221 Hz LCD แสดงว่าเป็นสายที่ 4 ช่วงความถี่จะเป็น ช่วง 128 Hz - 171 Hz LCD แสดงว่าเป็นสายที่ 5 ช่วงความถี่จะเป็น ช่วง 96 Hz - 128 Hz LCD แสดงว่าเป็นสายที่ 6 ช่วงความถี่จะเป็น ช่วง 50 Hz - 96 Hz การแสดงผล LCD

การออกแบบการคำนวณความถี่(ทดลอง) สายที่ กีต้าร์ กีต้าร์เบส คอร์ด ขอบล่าง (Hz) ความถี่ ขอบบน 1 E 328.3 329.63 330.2 G 97 98 99.1 2 B 246.1 246.94 248.1 D 72 73.42 74.1 3 195.1 196 197 A 54 55 55.7 4 146.1 146.83 148 - 41.2 5 109.1 110 111 30.87 6 81.1 82.41 83

การทำงานของโปรแกรมตั้งสายกีต้าร์

การออกแบบเมโทรโนม เมโทรโนมเป็นเครื่องเคาะจังหวะโดย มี tempo เป็นตัวกำหนดจังหวะโดย มีหน่วยเป็น bpm รับค่า tempo ที่ต้องการ นำค่า tempo ไปคำนวณแล้ว เปรียบเทียบกับจำนวณครั้งที่เข้า Interrupt ส่งสัญญาณ Beep การคำนวณเมโทรโนม การแสดงผล

การทำงานของโปรแกรมเมโทรโนม Time = (600000)/Tempo TMR0 เข้า interrupt ทุกๆ 100 us โดยให้ count เก็บค่าทุกครั้งที่เข้า interrupt นำค่า Time เปรียบเทียบกับ count เมื่อค่าเท่ากันจะสั่งสัญญาณ Beep

การทำงานของโปรแกรมเมโทรโนม(ต่อ)

การดำเนินงานช่วงถัดไป รวมโปรแกรมตั้งสายกีต้าร์ ตั้งสายกีต้าร์เบส และเมโทรโนม ปรับปรุงโปรแกรมให้ได้ประสิทธิภาพมากขึ้น รวมวงจรอิเล็กทรอนิกส์และไมโครคอลโทรลเลอร์ ทำ PCB และใส่กล่อง

คำถาม & คำตอบ