New Trade Theory ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
Advertisements

รัฐในเศรษฐศาสตร์สถาบัน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
Chapter 1 การตลาดในศตวรรษที่ 21 อ.ปั้น จูฑศฤงค์.
Historical antecedents ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ
Comparative advantage and the gains from trade ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ
Comparative advantage and the gains from trade (cont.)
EC451 Lecture 10 Heckscher-Ohlin (4) ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ.
Offer curves and the terms of trade ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ
EC451 International Trade Theory and Policy
Specific Factor Model ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
Heckscher-Ohlin (2) ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
Heckscher-Ohlin Theory(1) ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
Heckscher-Ohlin (3) ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
Lecture 8.
สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
Priciples of Marketing
วิกฤต-โอกาส กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
Lesson 11 Price.
สภาพแวดล้อมทางธุรกิจและการจัดการ
Real Estate Economics Prepared by Dichapong P. Thammasat University.
เศรษฐศาสตร์จุลภาคเป็นการศึกษาพฤติกรรม (behavior) ของหน่วยเศรษฐกิจแต่ละประเภท (individual economic units) ได้แก่ • ผู้บริโภค • แรงงาน • เจ้าของธุรกิจ.
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
Competition Strategy between Proprietary and Open Source Software and Intensity of Piracy Monitoring การแข่งขันระหว่างซอฟแวร์ระบบปิดและ ระบบเปิดและระดับการป้องกันการละเมิดลิขสิทธิ์
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
Theory of Firm.
บทที่ 1 Introduction เศรษฐศาสตร์จุลภาค คืออะไร
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
Aj-Kulachatr Chatrakul Na Ayudhaya Ch-3 1 Chapter III : Store Location Type of Retailing Location Downtown Area Neighborhood Shopping Districts String.
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
การผลิตและต้นทุนการผลิต
บทที่ 11 กลยุทธ์ราคา (Pricing Strategies)
ตลาดและการแข่งขัน.
FTA และผลกระทบต่อภาษีสรรพสามิต
สิ่งแวดล้อมทางการตลาด
Business Level Strategy กลยุทธ์ระดับธุรกิจ
การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์
ทุนทางปัญญา Intellectual Capital KM 743 Session 2
สมาชิกกลุ่ม จุฑาภรน์ อารียะ นิสายชล ศิริวาท
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
5FORCE Analysis Kleokamon boonyeun
Rimping Five-forces Analysis
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
ทฤษฎีเฮิคเชอร์และโอลิน
ลักษณะและขอบเขตของการตลาด
ต้นทุนการผลิต.
ทฤษฎีนีโอคลาสสิค.
ตลาด ( MARKET ).
บทที่ 8 ผลิตภัณฑ์การบริหารการผลิต
บทที่ 4 ส่วนประสมการตลาด
อิทธิพลของสิ่งแวดล้อม
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
การแข่งขันทาง การตลาด และตัวแปรทาง เศรษฐกิจ. การแข่งขันทางการตลาด (Competition) พฤติกรรมของผู้บริโภคไทยได้มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ในช่วง.
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
ผศ. ดร.พรชัย วิสุทธิศักดิ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

New Trade Theory ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ EC451 Lecture 12 New Trade Theory ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ

Trade based on increasing returns to scale: Standard trade models อธิบายการค้าว่าเกิดจากความแตกต่างของประเทศคู่ค้า (technology, factor endowments) ดังนั้น trade น่าจะเกิดขึ้นระหว่าง developed countries กับ developing countries ในความเป็นจริง การค้าส่วนใหญ่เกิดขึ้นระหว่าง advanced industrial countries

Traditional trade theory New trade theory Constant returns to scale Increasing returns to scale Perfect competition Imperfect competition Every country experience gains An individual country may from trade in the aggregate loose from trade Additional gains from trade: – increased competition – exploitation of scale economies 3

Applications of New Trade Theory economies of scale imperfect competition Monopolistic competition Inter-industry trade VS intra-industry trade Locations of Industry

Types of Economies of Scale External economies of scale ต้นทุนต่อหน่วยลดลงเมื่ออุตสาหกรรมมีขนาดใหญ่ขึ้น (จำนวน firms มากขึ้น การผลิตรวมของอุตสาหกรรมสูงขึ้น) the size of the industry Internal economies of scale ต้นทุนต่อหน่วยลดลงเมื่อหน่วยผลิตมีขนาดใหญ่ขึ้น (ปริมาณการผลิตสูงขึ้น) The size of the firm

Trade based on Economies of Scale.

เมื่อการผลิตมี Economies of Scale Convex PPF สมมติ สองประเทศเหมือนกันทุกประการ ทั้งสองประเทศมี Factor Endowment เหมือนกันทั้งปริมาณและสัดส่วน ทั้งสองประเทศมี Production Technology เหมือนกันในทุกสินค้า ผู้บริโภคทั้งสองประเทศมีรูปแบบความพอใจในการบริโภคเหมือนกัน Trade อาจเกิดขึ้นได้ แต่ละประเทศอาจจะมี Complete Specialization ในสินค้าคนชนิด Gains from trade เกิดจาก scale economies ทำนาย Trade patterns ไม่ได้ว่าใครจะส่งออกอะไร อาจขึ้นกับ historical antecedence

Imperfect Competition monopoly Oligopoly Monopolistic competition

A Review of Monopoly

Monopolistic Competition Differentiated Products เผชิญกับ downward sloping demand Internal Economies of Scale Downward sloping AC Easy entry and exit zero (economic) profits in equilibrium P=AC

Production and Pricing Under Monopolistic Competition.

Inter-industry Trade Cloth Food Italy (K-abundant) China (L-abundant)

Intra-Industry Trade

Intra-industry Trade การค้าส่วนใหญ่ในตลาดโลกเป็น intra-industry trade Thailand ส่งออก clothes (T-shirts, Underwears) นำเข้า clothes (coats, jackets) China ส่งออก car parts (seat covers, wiring harness) นำเข้า car parts (brakes, windshield wiper).

Basic framework for Intra-industry Trade ผู้บริโภคชอบให้มีความหลากหลายในสินค้า varieties of cars (passenger cars, SUVs, pick-up,etc.) รถแต่ละประเภทก็อยากให้มีตัวเลือกหลายๆยี่ห้อ ความแตกต่างของสินค้าเพียงอย่างเดียวไม่เพียงพอที่จะอธิบายปรากฏการณ์ Intra-industry Trade ถ้ามี demand for Lexus ในประเทศไทย ทำไม Toyota ไม่ตั้งโรงงานผลิต Lexus ในไทย ทำไมต้องผลิต Lexus ในญี่ปุ่น แล้วขายทั้งในญี่ปุ่นและไทย Hilux ผลิตในไทย There must be economies of scale ต้นทุนต่อหน่วย ลดลงเมื่อจำนวนผลิตมากขึ้น

Assumptions of Monopolistic Competition Models of Trade Consumers ชอบความหลากหลาย บางคนชอบรถ sedan บางคนชอบรถ SUV บางคนชอบรถ compact มีความอ่อนไหวต่อราคา แต่ไม่สมบูรณ์ หากราคาสูงขึ้น demand รถลง บางส่วน Firms มี internal economies of scale เผชิญกับ downward sloping demand zero (economic) profits in equilibrium

ผลของTrade ใน monopolistic competition model ขนาดตลาดใหญ่ขึ้น ต้นทุนต่อหน่วยและราคาสินค้าลดลง ผู้บริโภคมีสินค้าให้เลือกบริโภคได้หลากหลายขึ้น

สรุป เมื่อเกิด Internal Economies of scale ต้นทุนต่อหน่วยแปรผกผันกับปริมาณการผลิตของหน่วยผลิต เมื่อเกิด External Economies of scale ต้นทุนต่อหน่วยแปรผกผันกับปริมาณการผลิตของทั้งอุตสาหกรรม ใน monopolistic competition แต่ละ firm มี monopoly power ในระดับหนึ่งเนื่องจากสินค้าที่ผลิตมี product differentiation แต่ก็ยังคงต้องแข่งขันกับ other firms ในด้านราคา

สรุป (cont.) Gains from trade ใน Monopolistic competition model คือ การที่ต้นทุนต่อหน่วยและราคาสินค้าลดลง รวมทั้งทำให้ผู้บริโภคมีสินค้าที่หลากหลายให้เลือกบริโภคได้ Monopolistic competition model of trade ทำนายการเกิด intra-industry trade แต่ไม่สามารถทำนายได้ถึง Location of production Monopolistic competition model of trade ไม่มีการทำนายเรื่องผลกระทบของ Trade ต่อ income distribution ภายในประเทศ