ความหมายของสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
Advertisements

โครงงานคืออะไร ??? ติดตามมาเลยนะครับ…..
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
กระบวนการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry process)
แนวคิดการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
งานนำเสนอ Akanet Maneenut
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
การบูรณาการไอซีทีสู่ห้องเรียน
การปลูกพืชผักสวนครัว
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Chalermsri Piapan
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
อธิบายแนวคิดการจัดทำโครงงานในประเด็นต่อไปนี้
ภาพรวมแนวคิดของโครงงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
สื่อการสอนที่ทำให้การสอนงานคลินิกน่าสนใจ
การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นพื้นฐาน
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
วิธีการทางสุขศึกษา.
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
กระบวนการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry process)
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้ (Theme)
การจัดการเรียนรู้โดยใช้กรณีศึกษา (Case Study Method)
การใช้สถานการณ์จำลองในการจัดการเรียนรู้ (Simulation Method)
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สื่อการเรียนการสอน.
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าทางการศึกษา
ความหมายและความสำคัญ ในการนำ ICT มาใช้ในการเรียนรู้
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
หน่วย การเรียนรู้.
การวิจัยกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
ท่านเกิดปัญหานี้หรือไม่
สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ GHUM 1103
การปลูกพืชผักสวนครัว
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
คำว่า e-Learning คือ การ เรียน การสอนในลักษณะ หรือรูปแบบใดก็ได้ ซึ่งการ ถ่ายทอดเนื้อหานั้น กระทำ ผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
TLLM.
การประเมินแผนการสอน สุธาสินี ศรีวิชัย
การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน รายวิชาการจัดทำโครงงานด้วยกล่องสมองกล ช่วงชั้นที่ 4 ความหมาย กิจกรรมโครงงาน เป็นกิจกรรมที่เน้นกระบวนการโดยนักเรียนเป็นผู้คิดค้น.
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
TO DAY AGENDA วันนี้จะสอน อะไร 1. แผนการสอน เรื่อง ……………………………………… …………………………………… ชั่วโมง หน่วย ……………………. ………………… ชั้น …………. ภาคเรียน …… ความสำคัญ วัสดุ
บทบาทสมมติ (Role Playing)
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
ADDIE Model.
ระบบการ ดำเนินการใน โรงเรียน 1. ระบบบริหารจัดการ 2. ระบบการเรียนการสอน 3. ระบบการวัดผลประเมินผล 4. ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 5. ระบบงานกิจกรรมนักเรียน.
แหล่งเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
โครงงานคอมพิวเตอร์เป็น งานวิจัยสำหรับนักเรียน
สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การวางแผนการใช้สื่อ    การใช้สื่อการสอนต้องมีการวางแผน โดยในขั้นของการวางแผนคือ การ พิจารณาว่าจะเลือกใช้สื่อใด ในการเรียนการสอน ในการใช้สื่อใน การเรียนการสอนการวางแผนการใช้สื่อนับเป็นขั้นตอนแรก.
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
วิธีสอนแบบอุปนัย.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาระบบจัดการพลังงานใน อุตสาหกรรม ระดับชั้น ปวส.2/1 หมวดวิชาช่าง ยนต์ โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
E-learning.
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
วิธีการสอนโดยใช้เกม (Game)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความหมายของสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้

สื่อการสอน หมายถึงวัสดุ เครื่องมือและเทคนิควิธีการที่ผู้สอน นำมาใช้ประกอบการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่าง มีประสิทธิภาพ

คุณลักษณะได้ 4 ประเภทคือ สื่อประเภทวัสดุ ได้แก่สไลด์ แผ่นใส เอกสาร ตำรา สารเคมี สิ่งพิมพ์ต่าง ๆ และคู่มือการฝึกปฏิบัติ สื่อประเภทอุปกรณ์ ได้แก่ของจริง หุ่นจำลอง เครื่องเล่นเทปเสียง เครื่องเล่นวีดิทัศน์ เครื่องฉายแผ่นใส อุปกรณ์และเครื่องมือในห้องปฏิบัติการ

สื่อประเภทเทคนิคหรือวิธีการ ได้แก่การสาธิต การอภิปรายกลุ่ม การฝึกปฏิบัติการฝึกงาน การจัดนิทรรศการ และสถานการณ์จำลอง สื่อประเภทคอมพิวเตอร์ ได้แก่คอมพิวเตอร์ช่วยสอน การนำเสนอด้วยคอมพิวเตอร์

ลักษณะของสื่อการสอนที่ดี สื่อการสอนที่ดีย่อมช่วยให้การเรียนรู้บรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะต้องประกอบด้วยคุณลักษณะต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ คือ มีความเหมาะสมสอดคล้องกับเนื้อหาและจุดมุ่งหมายของการเรียนการสอน มีความเหมาะสมกับรูปแบบของการเรียนการสอน มีความเหมาะสมกับลักษณะของผู้เรียน มีความเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของการใช้สื่อ

สื่อการเรียนรู้ หมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่างรอบตัวผู้เรียนที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ อาจอยู่ในลักษณะที่ถ่ายทอด ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก เพิ่มพูนทักษะและประสบการณ์ หรือเป็นเครื่องมือที่กระตุ้นให้เกิดศักยภาพทางความคิด (Cognitive tools) ตลอดจนสิ่งที่กระตุ้นให้เป็นผู้แสวงหาความรู้และมีทักษะในการสร้างความรู้ด้วยตนเอง เพื่อมุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนมีโอกาสเรียนรู้ด้วยตนเอง

คุณลักษณะของสื่อการเรียนรู้ ช่วยส่งเสริมการสร้างความรู้ของผู้เรียน ช่วยส่งเสริมการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง มุ่งเน้นการพัฒนาการคิดของผู้เรียน เป็นสื่อที่หลากหลาย ได้แก่ วัสดุ อุปกรณ์ วิธีการ ตลอดจนสิ่งที่มี ตามธรรมชาติ เป็นสื่อที่อยู่ตามแหล่งความรู้ในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ช่วยพัฒนาการร่วมทำงานเป็นทีม

ความสำคัญของสื่อการเรียนรู้ 1 ความสำคัญของสื่อการเรียนรู้ 1. ช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจและสร้างความคิดรวบยอดใน เรื่องที่เรียนได้ง่ายและรวดเร็วขึ้น 2. ช่วยให้ผู้เรียนมองเห็นสิ่งที่กำลังเรียนรู้ได้อย่างเป็นรูปธรรม 3. ช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง 4. สร้างสภาพแวดล้อมและประสบการณ์การเรียนรู้ที่แปลกใหม่ 5. ส่งเสริมการมีกิจกรรมร่วมกันระหว่างผู้เรียน 6. เกื้อหนุนผู้เรียนที่มีความสนใจและความสามารถในการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน ให้สามารถเรียนรู้ได้ทัดเทียมกัน

7. ช่วยเชื่อมโยงสิ่งที่ไกลตัวผู้เรียนให้เข้ามาสู่การเรียนรู้ของผู้เรียน 8. ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิธีการแสวงหาความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ       ตลอดจนการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง 9. ช่วยให้ผู้เรียนได้รับการเรียนรู้ในหลายมิติจากสื่อที่หลาหลาย 10. ช่วยกระตุ้นให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในเชิงเนื้อหา กระบวนการ และความรู้เชิงประจักษ์ ส่งเสริมให้เกิดทักษะ ได้แก่ ทักษะการคิด ทักษะการสื่อสาร

หลักในการผลิต      ผู้เรียนจะเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ ซึ่งจะต้องมีปฏิสัมพันธ์กับแหล่งข้อมูลที่มีศักยภาพ ได้แก่ ครู เทคโนโลยี พ่อแม่ ภูมิปัญญาชาวบ้าน และบุคคลอื่น ๆ ตลอดจน สื่อต่างๆ เพื่อที่จะนำมาสู่การหยั่งรู้ในปัญหาและการแก้ปัญหา หรือการได้มาซึ่งความรู้ที่ตนเองสร้างขึ้น

เมื่อมีการเปลี่ยนกระบวนทัศน์ การสอน มาสู่ การเรียนรู้ ดังนั้นเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมที่นำมาเพิ่มประสิทธิภาพก็ต้องสอดรับกับแนวคิดดังกล่าว คือ มุ่งเน้นการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ลักษณะของการนำเทคโนโลยี และนวัตกรรม หรือสื่อมาใช้ที่สอดคล้องกับการปฏิรูปการเรียนรู้เป็น "Media + Methods" หรือ "สื่อ ร่วมกับ วิธีการ“

วิธีการ ( Methods) ที่สอดรับกับสภาพปัจจุบัน ได้แก่ การเรียนแบบค้นพบ ( Discovery) การเรียนแบบสืบเสาะ( Inquiry) การเรียนแบบแก้ปัญหา ( Problem Solving) การเรียนแบบร่วมมือ ( Cooperative Learning) การเรียนโดยการสร้างความรู้ ( Constructivism) สถานการณ์จำลอง ( Simulation) การสร้างโครงงาน

แนวทางในการพัฒนาสื่อการเรียนรู้ มีดังต่อไปนี้         1. วิเคราะห์วัตถุประสงค์ เนื้อหา        2. วิเคราะห์กิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ เนื้อหา        3. ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง    4. วิเคราะห์กิจกรรมการเรียนรู้    5. จัดเตรียม สื่อการเรียนรู้       6. นำไปใช้ตามแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

สื่อการเรียนรู้ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานในแต่ละสาระการเรียนรู้ กรมวิชาการ ( 2545) ได้จำแนกประเภทของสื่อการเรียนรู้ ไว้ดังนี้ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยี สื่อที่เป็นกิจกรรม/กระบวนการ สื่อบุคคล รวมถึงภูมิปัญญาท้องถิ่น สื่อวัสดุอุปกรณ์