โครงสร้างของระบบปฏิบัติการ Operating System Structure

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
Advertisements

คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS )
ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (Multiprogramming System)
คลิก เข้าสู่การเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
Software คือ ชุดคำสั่งหรือ ขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
Software.
เรื่อง องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ จำทำโดย นาย เดชฤทธิ์ ร้อยพรหมมา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2 (ง31102)
เรื่อง ประเภทของสาระสนเทศ 3.ระบบสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS)
ความหมายของซอฟท์แวร์ (Software, Program)
ความหมาย และวิวัฒนาการ ของ ระบบปฏิบัติก าร.
การจัดการอุปกรณ์รับ และแสดงผล
ซอฟต์แวร์.
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Operating System ฉ NASA 4.
การทำงานของคอมพิวเตอร์
โครงสร้างการทำงานของ OS
ระบบปฏิบัติการ ผู้สอน ผศ. รวินทร์ ไชยสิทธิพร chandra. ac
แนะนำรายวิชา ระบบปฏิบัติการ ภาคเรียนที่ 1/2557
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Operating System โครงสร้างคอมพิวเตอร์ และภาษาแอสเซมบลี้
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ โดยหลักการแล้วจะประกอบด้วย 5 ส่วน คือ องค์ประกอบด้านฮาร์ดแวร์ องค์ประกอบด้านซอฟท์แวร์ หน่วยงานหรือตัวบุคคล วิธีการปฏิบัติงาน.
Memory Management ในยุคก่อน
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
Charter 11 1 Chapter 11 ระบบปฏิบัติการ Operation System : OS.
องค์ประกอบทางด้านซอฟต์แวร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
เรื่ององค์ประกอบคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ครูสุวรรณ์ พิมเสน ครู คศ
กิจกรรมที่ 1 ซอฟต์แวร์ระบบ จุดประสงค์ 1. บอกความหมายของซอฟต์แวร์
บทที่ 7 Deadlock Your company slogan.
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง. หลักการทำงาน และ
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
การทำงานของคอมพิวเตอร์
A Comparison on Quick and Bubble sort on large scale data
การจัดการฐานข้อมูล.
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
กิจกรรมที่ 1 ซอฟต์แวร์ระบบ จุดประสงค์ 1. บอกความหมายของซอฟต์แวร์
บทที่ 3 การจ่ายงาน (Process Management).
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ม.4/2 โรงเรียนมัธยมวัดป่ามะไฟ
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
นาย กตัญญู ใจอารีย์ นาย ณัฐพงศ์ สองทอง ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
โครงสร้าง ภาษาซี.
ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบ (System) คือกลุ่มขององค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กันและทำงานร่วมกัน ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์จะมีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
Input / Output ธนวัฒน์ แซ่เอียบ.
คอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
นาย เกียรติศักดิ์ แสนนวล โรงเรียนจักรคำคณาทรลำพูน
Operating System.
จัดทำโดย.... นางสาววริศรา ทาวรรณ์ เลขที่ 35 ชั้น ม.4/13
ระบบคอมพิวเตอร์ และ การสื่อสาร กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
นายณัฐพล นาคะป่า เลขที่ 36 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/7
วิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ รหัสวิชา Computer Technology and Operating System บทที่ 1 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อ.รจนา วานนท์ Master.
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ Operating System
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงสร้างของระบบปฏิบัติการ Operating System Structure OS มีหน้าที่มากมายในการควบคุมดูแลการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ จึงทำให้โครงสร้างของ OS มีความสลับซับซ้อนมาก เพื่อความสะดวกในการออกแบบผู้ออกแบบจึงจัดแบ่ง OS ออกเป็นส่วนย่อย ๆ หลาย ๆ ส่วน และให้แต่ละส่วนมีหน้าที่รับผิดชอบการทำงานในแต่ละด้านโดยไม่คาบเกี่ยวกันแต่สัมพันธ์กัน ในบทนี้จะอธิบายถึงแต่ละส่วนของ OS โดยนับจากส่วนที่อยู่ใกล้ฮาร์ดแวร์จนไปถึงโปรแกรมของผู้ใช้และผู้ใช้

โครงสร้างของระบบปฏิบัติการ Operating System Structure Kernel Memory manager IOCS File manager Short-term scheduler Resource scheduler Long-term scheduler Command interpreter Application program or user OS Hardware Independent dependent Hardware

โครงสร้างของระบบปฏิบัติการ Operating System Structure Kernel เป็นส่วนของ OS ที่อยู่ใกล้กับ Hardware มากที่สุด ประกอบด้วยส่วนย่อย ๆ พื้นฐาน 3 ส่วนคือ ตัวส่ง (Dispatcher) มีหน้าที่จัดการส่งโปรเซสเข้าไปใน CPU ตัวจัดการ Interrupt มีหน้าที่วิเคราะห์ Interrupt ที่เกิดขึ้นและเลือกรูทีนที่เหมาะสมกับ Interrupt นั้น ๆ ตัวควบคุมมอนิเตอร์ (Monitor control) มีหน้าที่ควบคุมดูแลการเข้าถึง ตรวจสอบและตรวจจับการทำงานต่าง ๆ ของระบบ เขียนโดยใช้ภาษา Assembly และเป็นส่วนที่ขึ้นอยู่กับ Hardware ดังนั้นถ้าโครงสร้างทาง Hardware ของเครื่องมีการเปลี่ยนแปลง ส่วนของ Kernel ต้องนำมาแก้ไขใหม่เพื่อให้ทำงานกับ Hardware ใหม่ ๆ ได้

โครงสร้างของระบบปฏิบัติการ Operating System Structure Memory manager มีหน้าที่จัดการเกี่ยวกับหน่วยความจำของระบบทั้งหน่วยความจำหลัก และหน่วยความจำเสมือน IOCS (Input-Output control system) มีหน้าที่จัดการงานทางด้านอินพุตและเอ้าท์พุต ยังคงต้องติดต่อกับ Hardware เพราะต้องทำหน้าที่จัดการอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ต่อเชื่อกับระบบ File manager ทำหน้าที่เกี่ยวกับ File มีหน้าที่เก็บไฟล์ลงดิสก์ การหาไฟล์ และการอ่านไฟล์ เป็นต้น

โครงสร้างของระบบปฏิบัติการ Operating System Structure Short-term Scheduler มีหน้าที่จัดคิวและคัดเลือกโปรเซสในสถานะพร้อมที่เหมาะสมที่สุดในคิวเพื่อให้โปรเซสนั้นเข้าครอครอง CPU ที่ว่างอยู่ Resource manager มีหน้าที่จัดสรรทรัพยากรอื่น ๆ ในระบบโดยจะทำงานร่วมกับ Short-term Scheduler เนื่องจากหลังจากที่ Short-term Scheduler ส่งโปรเซสเข้าสู่สถานะรันแล้ว โปรเซสนั้นอาจต้องใช้ทรัพยากรอื่น ๆ ในระบบจึงทำให้การทำงานของ Short-term Scheduler และ Resource manager ต้องทำงานประสานกัน

โครงสร้างของระบบปฏิบัติการ Operating System Structure Long-term scheduler มีหน้าที่จัดการและควบคุมโปรเซสต่าง ๆ ทั้งหมดในระบบ เช่นการสร้างระบบและยุติโปรเซสเมื่อโปรเซสทำงานเสร็จสิ้นลง Command interpreter หรือ Shell เป็นส่วนที่อยู่ใกล้ชิดกับผู้ใช้มากที่สุดเนื่องจากเป็นรูปแบบที่แสดงออกมาที่หน้าจอเพื่อติดต่อกับผู้ใช้และโปรแกรมของผู้ใช้ เช่น กรณีที่เป็นระบบ DOS เป็นการแสดงหน้าจอที่มีเครื่องหมาย C:> (Prompt) ออกมาทางจอภาพเพื่อให้ผู้ใช้สามารถเริ่มทำงานได้ กรณีที่เป็นระบบ Windows เป็นการแสดงหน้าจอ Desktop ออกมาทางจอภาพเพื่อให้ผู้ใช้สามารถเริ่มทำงานได้