ความน่าจะเป็น Probability.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
การวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบหนึ่งทาง
ยินดีต้อน เข้าสู่ โครงงาน.
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม
ประชากร (Population) จำนวน N สุ่ม (Random) กลุ่มตัวอย่าง (Sample)
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
Introduction to Probability เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ความน่าจะเป็นเบื้องต้น เรื่อง ความน่าจะเป็นเบื้องต้น อ.สุวัฒน์ ศรีโยธี สาขาวิชาคณิตศาสตร์
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
ความน่าจะเป็น (Probability)
Sampling Distribution
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
Chapter 2 Probability Distributions and Probability Densities
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
Probability & Statistics
Probability & Statistics
การเรียงสับเปลี่ยนและทฤษฎีการจัดหมู่
ทศนิยมและเศษส่วน F M B N โดย นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช.
ตัวอย่างที่ 2.16 วิธีทำ จากตาราง.
การประมาณค่าทางสถิติ
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
2 การเก็บรวบรวมข้อมูล Data Collection.
แนวคิด พื้นฐาน ทางสถิติ The Basic Idea of Statistics.
โดย มิสกรรณกา หอมดวงศรี
การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
ครูที่นักเรียนอยากได้
ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง (sampling design)
การบ้าน แซมเปิลสเปซ.
Office of information technology
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ
สรุปผลการสำรวจ ความต้องการของประชาชนเกี่ยวกับ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยล่าสุด (ณ เดือนตุลาคม) และแนวโน้มไตรมาส 3/50 และ 4/50
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
การแจกแจงปกติ.
เทคนิคในการวัดความเสี่ยง
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
ผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน ( O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้จัดทำ นางสาวภัทศิรา ภูมิเมือง เลขที่ 16 นางสาวสุพัชรญา มะโนรา เลขที่
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
การดำเนินการระหว่างเหตุการณ์
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร
สรุปผลสัมฤทธิ์ปีการศึกษา 2552 ชั้ น จำนว นสาระการเรียนรู้ นักเรี ยนทค ค. เพิ่มวสพ.พ. ศ.ศ. ดน ตรีง.ง. คอ ม. อ อ. เพิ่ม ป.1ป
ณ โรงแรมมารวยการ์เด็น ธันวาคม 2555
ทฤษฎีเบื้องต้นของความน่าจะเป็น
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
การทดลองสุ่มและแซมเปิ้ลสเปซ
ค32214 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
หน่วยที่ 6 ความน่าจะเป็น โรงเรียนปทุมวิไล จังหวัดปทุมธานี
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
กราฟเบื้องต้น.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนที่ 7
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความน่าจะเป็น Probability

การทดลองสุ่ม เป็นการทดลองที่ผลลัพธ์จะสามารถเกิดขึ้นได้ แตกต่างกันหลายอย่าง แต่เราไม่ทราบว่า ผลลัพธ์ใดจะเกิดขึ้น การโยนเหรียญขึ้นไปในอากาศ เป็นการทดลองสุ่ม เพราะผลลัพธ์เกิดขึ้นได้หลายอย่าง แต่เรายังไม่ทราบว่า จะเกิดอะไร การทอดลูกเต๋าลงในถ้วย เป็นการทดลองสุ่ม เพราะเราไม่ทราบว่าลูกเต๋าจะหงายหน้าอะไร

ผลลัพธ์ เป็นผลที่เกิดขึ้นหลังจากการทดลองสุ่มได้เสร็จสิ้นเรียบร้อยแล้ว ในการโยนเหรียญ 1 เหรียญ ขึ้นไปในอากาศ ขณะที่เหรียญยังไม่ได้ ตกลงมา ขณะนั้นเราถือว่าเป็นการทดลองสุ่ม แต่ถ้าเหรียญตกลงมา และหงายหัว เราถือว่า “หัว” เป็นผลลัพธ์ ในการทอดลูกเต๋าลงในถ้วย ขณะที่ลูกเต๋ายังไม่หยุดนิ่ง เราถือว่า เป็นการทดลองสุ่ม แต่ถ้าลูกเต๋าหยุดนิ่งและหงายหน้าที่มีจุด 5 จุด (เราเรียกว่า หงายหน้า 5) เราถือว่า “5” เป็นผลลัพธ์

แซมเปิลสเปซ (Sample Space) คือ เซตของผลลัพธ์ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ทั้งหมดจากการทดลองสุ่ม Sample Space ของผลการทอดลูกเต๋า 2 ลูก S = {(1,1), (1,2), (1,3), (1,4), (1,5), (1,6), (2,1), (2,2), (2,3), (2,4), (2,5), (2,6), (3,1), (3,2), (3,3), (3,4), (3,5), (3,6), (4,1), (4,2), (4,3), (4,4), (4,5), (4,6), (5,1), (5,2), (5,3), (5,4), (5,5), (5,6), (6,1), (6,2), (6,3), (6,4), (6,5), (6,6)}

เหตุการณ์ (Event) คือ สับเซตของแซมเปิลสเปซ ที่เราสนใจ การทอดลูกเต๋า 2 ลูก ถ้าเราสนใจในกรณีที่ผลรวมของแต้มบนลูกเต๋า ทั้งสองมีค่าน้อยกว่า 5 เหตุการณ์ที่สนใจจะเป็นดังนี้ A = {(1,1), (1,2), (1,3), (2,1), (2,2), (3,1)}

ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ การหาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ใด ก็คือการหาว่าโอกาส ที่จะเกิดเหตุการณ์ดังกล่าวนั้นมีมากน้อยเพียงใด ถ้าสมาชิกแต่ละตัวของแซมเปิลสเปซ มีโอกาสเกิดขึ้นเท่าๆกัน P(A) หมายถึง ความน่าจะเป็นที่เกิดเหตุการณ์ A เราสามารถหา P(A) ได้ดังนี้

คุณสมบัติของความน่าจะเป็น ให้ A เป็นเหตุการณ์ใด และ S เป็นแซมเปิลสเปซ โดยที่ A เป็นสับเซตของ S

ตัวอย่าง ในการทอดลูกเต๋า 2 ลูก จงหาความน่าจะเป็นที่ผลรวมของแต้ม บนลูกเต๋าทั้งสองลูกมีค่ามากว่า 3 S = {(1,1), (1,2), (1,3), (1,4), (1,5), (1,6), (2,1), (2,2), (2,3), (2,4), (2,5), (2,6), (3,1), (3,2), (3,3), (3,4), (3,5), (3,6), (4,1), (4,2), (4,3), (4,4), (4,5), (4,6), (5,1), (5,2), (5,3), (5,4), (5,5), (5,6), (6,1), (6,2), (6,3), (6,4), (6,5), (6,6)}

คุณสมบัติของความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์ ให้ A และ B เป็นเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์ ในแซมเปิลสเปซ ในกรณีนี้ เรียก A และ B ว่า เป็นเหตุการณ์ที่ไม่เกิดร่วมกัน (Mutually exclusive events)

ตัวอย่าง ความน่าจะเป็นที่นักเรียนคนหนึ่งจะชนะในการแข่งขันว่ายน้ำ แบบฟรีสไตล์เท่ากับ 1/5 ความน่าจะเป็นที่นักเรียนผู้นี้ จะชนะ ในการแข่งขันว่ายน้ำแบบผีเสื้อเท่ากับ 3/7 ความน่าจะเป็นที่เขา จะชนะทั้งสองประเภทเท่ากับ 2/5 จงหาความน่าจะเป็นที่นักเรียน ผู้นี้จะชนะการแข่งขันว่ายน้ำอย่างน้อย 1 ประเภทจาก 2 ประเภทนี้

ให้ A แทนเหตุการณ์ที่เขาชนะการแข่งขันว่ายน้ำแบบฟรีสไตล์ B แทนเหตุการณ์ที่เขาชนะการแข่งขันว่ายน้ำแบบผีเสื้อ สิ่งที่เราต้องการหาคือ

การแจกแจงความน่าจะเป็น

ตัวแปรเชิงสุ่ม เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในการทดลองสุ่มหนึ่งๆ ในการโยนลูกเต๋าแต่ละครั้ง ผลการโยนที่อาจเป็นไปได้คือ {1, 2, 3, 4, 5, 6 } ซึ่งตัวเลขเหล่านี้ในทางสถิติถือว่าเป็นการทดลองสุ่ม คือไม่สามารถทราบได้แน่นอนว่าในการโยนลูกเต๋าแต่ละครั้งจะปรากฏผลอะไรออกมา ดังนั้นตัวเลขที่ปรากฏในการโยนแต่ละครั้งบนหน้าลูกเต๋าจึงเป็นค่าแบบสุ่ม ถ้าให้ X แทนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในการทดลองสุ่มหนึ่งๆ เราเรียก X นั้นว่า ตัวแปรเชิงสุ่ม และถ้ารวมเหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นได้ทั้งหมดจากการทดลองสุ่มนั้น เข้าเป็นรูปแบบของเซต เราเรียกเซตนั้นว่า Sample Space

การแจกแจงของตัวแปรเชิงสุ่ม จากตัวอย่างการทดลองสุ่ม ทอดลูกเต๋า 2 ลูกพร้อมกัน หากสนใจเหตุการณ์ที่เป็นผลบวกของแต้มบนหน้าลูกเต๋า ตัวแปรเชิงสุ่ม X ในที่นี้หมายถึงเหตุการณ์ที่เป็นผลบวกของแต้มบนหน้าลูกเต๋า ซึ่งมีค่าที่อาจเป็นไปได้ดังนี้ X = 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11 และ 12

ลูก2 ลูก1 1 2 3 4 5 6 1+1=2 1+2=3 1+3=4 1+4=5 1+5=6 1+6=7 2+1=3 2+2=4 2+3=5 2+4=6 2+5=7 2+6=8 3+1=4 3+2=5 3+3=6 3+4=7 3+5=8 3+6=9 4+1=5 4+2=6 4+3=7 4+4=8 4+5=9 4+6=10 5+1=6 5+2=7 5+3=8 5+4=9 5+5=10 5+6=11 6+1=7 6+2=8 6+3=9 6+4=10 6+5=11 6+6=12

จำนวนวิธีที่ลูกเต๋า 2 ลูก จะปรากฏผลเป็นหน้าต่างๆ กัน มีได้ทั้งหมด (Sample Space) 36 วิธี หรือ 36 แบบ ในจำนวน 36 วิธีนี้ หากจำแนกและแจกแจงตามค่า ของตัวแปรเชิงสุ่ม หรือผลลัพธ์ของเหตุการณ์ที่สนใจ (Event) ซึ่งในที่นี้คือเหตุการณ์ที่เป็นผลรวมของแต้ม ที่ปรากฏบนหน้าลูกเต๋าทั้งสอง จะพบจำนวนวิธีหรือ จำนวนแบบของผลลัพธ์ และคำนวณค่าความน่าจะเป็น ของแต่ละเหตุการณ์ ได้ดังนี้ X 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 n(X) 1 P(X)

จำนวนวิธี หรือ จำนวนแบบ n(X) ค่าของตัวแปรเชิงสุ่ม หรือผลลัพธ์ของเหตุการณ์ที่สนใจ (Event)

การแจกแจงของค่าสถิติ ประชากร (population) คือ เซตของหน่วยตัวอย่าง (sampling unit) ทั้งหมด ซึ่งเป็นแหล่งของข้อมูลต่างๆ ภายในขอบข่ายที่สนใจ พารามิเตอร์ (parameter) คือ ค่าคงที่ที่แสดงลักษณะบางประการของประชากร เช่น ค่าเฉลี่ยของประชากร ค่าสถิติ (statistic) ค่าคงที่ที่แสดงลักษณะบางประการของตัวอย่างที่เป็นส่วนหนึ่งของประชากร เช่น ค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง

การแจกแจงของค่าเฉลี่ย สมมติว่า จากประชากร ซึ่งประกอบด้วย 3, 5, 7, 9 และ 11 หาค่าเฉลี่ยของประชากรได้ดังนี้

3, 5, 7, 9, 11 จากประชากรข้างต้น หากสุ่มตัวอย่างขนาด n=2 จะมีตัวอย่างได้ทั้งหมด 10 แบบ และหาค่าเฉลี่ยของตัวอย่างได้ดังนี้ ตัวอย่าง 3, 5 4 3, 7 5 3, 9 6 3, 11 7 5, 7 5, 9 5, 11 8 7, 9 7, 11 9 9, 11 10 ค่าเฉลี่ย 3, 5, 7, 9, 11

เมื่อนำค่าเฉลี่ยของตัวอย่างมาแจกแจงความถี่ จะได้ผลดังนี้ 4 5 6 7 8 9 10 ความถี่ 1 2

Normal Distribution

การแจกแจงแบบปกติ Z ~ N(0,1)

การแจกแจงแบบ t n < 30 df = n-1

การแจกแจงแบบ F

การแจกแจงแบบ Chi-Square