การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
Advertisements

กระบวนการสร้างแบบทดสอบ
ปฐมนิเทศ การเขียนโปรแกรม ง30202.
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
งานวิจัย เรื่อง ผลการใช้แบบฝึกการเขียนคำที่มี รูปวรรณยุกต์กำกับ
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ อาจารย์พิมพ์ทอง สังสุทธิพงศ์
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การเขียนรายงานการทดลอง
Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
Management Information Systems
คุณภาพการประเมินนักเรียนและสถานศึกษา เพื่อรับรางวัลพระราชทาน
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
การประเมินผลการเรียน
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
บทที่ 6 สถิติที่ใช้ในการ วัดผลการศึกษา. การวิเคราะห์ข้อสอบ ก่อนนำไปใช้  จุดมุ่งหมาย เพื่อนำผลการวิเคราะห์ ไปเป็นข้อมูลในการ ปรับปรุงแก้ไขข้อสอบ ก่อนที่จะนำข้อสอบไปใช้
จุดมุ่งหมายการศึกษา และพฤติกรรมการศึกษา
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การวิเคราะห์ข้อสอบ Item analysis.
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
กระบวนการทำแผนการจัดการเรียนรู้
การวิเคราะห์ข้อสอบ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
แนวคิดในการทำวิจัย.
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
หลักสูตรพัฒนาความสามารถในการสร้างเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
หน่วยที่ 5 การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
การวัดและประเมินผล การเรียนรู้
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
เวชศาสตร์ชุมชนและเวชศาสตร์ครอบครัว
วิจัย เรื่อง การพัฒนาการเรียนรู้เรื่อง เงินเฟ้อ-เงินฝืด วิชาหลักเศรษฐศาสตร์ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ของผู้เรียน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเขียนรายงานผลการวิจัย
Backward Design โดย อาจารย์ประจำวิชาฟิสิกส์ชั้นปีที่ ๓
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
อบรมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
นางสาวพิชญาภา อิ่มประไพ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ (MBAC)
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบ การกำหนดวัตถุประสงค์ของแบบทดสอบ การจัดทำตารางโครงสร้างแบบทดสอบ (Test Blueprint หรือ Test Specification) ทบทวนจุดประสงค์การเรียนรู้/ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง (Learning Objective / Learning Out come) เขียนข้อสอบ (Item Writing) (โดยเขียนข้อสอบให้วัดได้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้ Objective-based) ทบทวน ตรวจทานความถูกต้อง เหมาะสมของข้อสอบ (Review) และปรับปรุงข้อสอบ

ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบ (ต่อ) จัดเรียง / จัดชุด แบบทดสอบ จัดพิมพ์ / อัดสำเนา และ เย็บชุด/เล่ม แบบทดสอบ แล้วบรรจุ ซอง / กล่อง แบบทดสอบ เพื่อส่งไปยังสนามสอบ ดำเนินการสอบ ตรวจคำตอบเพื่อให้คะแนนผลการสอบ นำผลการสอบของนักศึกษามาทำการวิเคราะห์คุณภาพข้อสอบรายข้อ (ค่า p, ค่า r) และค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับ (K-R 20) เก็บข้อสอบที่ดีๆ ไว้ในคลังข้อสอบ (Item Bank) และปรับปรุงข้อสอบที่ยังไม่เข้าเกณฑ์ข้อสอบที่ดี เก็บไว้เพื่อนำไปใช้ในโอกาสต่อไป

การกำหนดวัตถุประสงค์ของแบบทดสอบ รายวิชา ................................................. เพื่อวัดความรอบรู้ในเนื้อหาวิชาและความสามารถด้านพุทธิพิสัย ของนักศึกษา ใน รายวิชา ......................................................... จากวัตถุประสงค์ดังกล่าว บ่งชี้ว่าแบบทดสอบที่สร้างขึ้น เป็นแบบทดสอบปลายภาค (Final Test) ที่วัดประเมิน เพื่อสรุปผลการเรียน หรือ เพื่อประเมินผลรวม (Summative Evaluation) เพื่อนำคะแนนผลการสอบ ไปรวมกับคะแนนระหว่างภาค เพื่อตัดสินผลการเรียน ในรายวิชาดังกล่าว ลักษณะของแบบทดสอบ ครอบคลุมหัวข้อเนื้อหา / จุดประสงค์การเรียนรู้ / ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ที่สำคัญๆ วัดครอบคลุมความสามารถ (ด้านพุทธิพิสัย) ที่ซับซ้อน หรือ ความคิดระดับสูง เป็นแบบ MCQ

การจัดทำตารางโครงสร้างแบบทดสอบ (Test Specification) (ตาราง 2 ทางที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างหัวข้อเนื้อหาวิชาและความสามารถด้านพุทธิพิสัย) หัวข้อเนื้อหา จำนวน ความจำ ความเข้าใจ การประยุกต์ การวิเคราะห์ ประเมินค่า คิดสร้างสรรค์ รวม คาบ Rem Und App Ana Eva Cre 1………….. 1 2………….. 2 3………….. 3 4………….. 1 5………….. 1 6………….. 4 7………….. 2 8………….. 4 9………….. 1 10…………. 1 รวม 20 5 10 15 20 10 30 30 20 10 -- 100

ตารางโครงสร้างแบบทดสอบปลายภาค วิชา 230 303 การวัดและประเมินผลการศึกษา หัวข้อเนื้อหา จำนวน คาบ ความจำ Rem ความเข้าใจ Und การประยุกต์ App การวิเคราะห์ Ana ประเมินค่า Eva คิดสร้างสรรค์ Cre รวม 1. พัฒนาการของการวัดและ ประเมินผลการศึกษา 2 3 6 2. การวัดและประเมินผล การศึกษาในกระบวนการเรียนรู้ 3. จุดมุ่งหมายของการศึกษาและ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1 4. การวางแผนการวัดและประเมินผล รายวิชา 5. เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัด และประเมินผลรายวิชา 4 6. การสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนด้านพุทธิพิสัย 18 7. หลักและเทคนิคในการวัดด้าน จิตพิสัยและทักษะพิสัย 12 8. สถิติพื้นฐานที่ใช้ในการวัดและ 9. คุณลักษณะของเครื่องมือวัดที่ดี 10. การวิเคราะห์ข้อสอบและตรวจ สอบคุณภาพของแบบทดสอบ 11. คะแนนและการให้ระดับผล การเรียน 30 19 29 10 8 90

กำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้/ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังที่จะนำไปออกข้อสอบ หัวข้อเนื้อหา ความสามารถด้านพุทธิพิสัย น้ำหนัก ความสำคัญ จุดประสงค์ การเรียนรู้ จำนวน ข้อสอบ

กำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้/ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังที่จะนำไปออกข้อสอบ หัวข้อเนื้อหา ความสามารถ ด้านพุทธิพิสัย น้ำหนัก ความสำคัญ จุดประสงค์ การเรียนรู้ จำนวน ข้อสอบ 6. การสร้าง เครื่องมือวัด ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ความจำ 2 บอกขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ด้านพุทธิพิสัยได้ 2 (MC) ความเข้าใจ ยกตัวอย่างข้อสอบที่ดีและข้อสอบที่ ไม่ดีตามเกณฑ์การสร้างข้อสอบ แต่ละชนิดได้ ประยุกต์ใช้ บอกวิธีปฏิบัติในสถานการณ์จริงที่ต้องสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนด้านพุทธิพิสัย วิเคราะห์ 4 ระบุจุดเด่น และ/หรือ จุดบกพร่อง ของข้อสอบที่กำหนดให้ได้ 4 (MC) ประเมินค่า วิจารณ์ข้อสอบที่กำหนดให้โดยใช้เกณฑ์คุณลักษณะของข้อสอบที่ดี 1 (E) คิดสร้างสรรค์ เขียนข้อสอบที่วัดความสามารถด้านพุทธิพิสัยระดับต่างๆ เมื่อกำหนดเนื้อหาวิชาให้

แบบเขียนข้อสอบ การเขียนข้อสอบ รายวิชา ......................................... ชั้นปีที่ ......................................... หัวข้อเนื้อหา ......................................... ระดับความสามารถ ......................................... จุดประสงค์การเรียนรู้/ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง .......................................................................................................... ประเด็นเนื้อหาวิชา/ความคิดรวบยอด/กระบวนการ ที่นำมาออกข้อสอบ .......................................................................................................... .......................................................................................................... .......................................................................................................... ข้อสอบ .......................................................................................................... .......................................................................................................... .......................................................................................................... .......................................................................................................... เฉลยคำตอบ ..........................................................................................................

แบบเขียนข้อสอบ การเขียนข้อสอบ รายวิชา 230 303 ชั้นปีที่ 3 หัวข้อเนื้อหา การสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนด้านพุทธิพิสัย ระดับความสามารถ วิเคราะห์ การเขียนข้อสอบ แบบเขียนข้อสอบ จุดประสงค์การเรียนรู้/ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ระบุจุดเด่น และ/หรือ จุดบกพร่องของข้อสอบที่กำหนดให้ได้ ประเด็นเนื้อหาวิชา/ความคิดรวบยอด/กระบวนการ ที่นำมาออกข้อสอบ คำแนะนำในการสร้างข้อสอบแบบเลือกตอบ 1) ตอนนำ (stem) ของข้อสอบอาจจะใช้เป็น “คำถาม” หรือ “ประโยค” ที่ไม่สมบูรณ์ ก็ได้ แต่ต้องได้ใจความชัดเจน 2) ตัวเลือกทุกข้อต้องมีความเหมาะสมและสอดคล้องกับ “ตอนนำ” 3) ตัวลวงทุกตัวมีความเป็นไปได้ และน่าจะถูกเลือกโดยผู้เรียนที่เรียนอ่อน ข้อสอบ จงพิจารณาข้อสอบต่อไปนี้แล้วตอบคำถามข้อ 1-2 จังหวัดเชียงใหม่ ก. เป็นที่ราบเชิงเขา ข. อากาศหนาวเย็น ค. ปลูกลำไยมาก ง. ประชาชนมีความงามทั้งกายและใจ 1. ข้อสอบมีจุดบกพร่องในเรื่องใด เด่นชัดที่สุด ? (1) ประเด็นที่ถามไม่ชัดเจน (2) ตัวถูก ไม่ได้ถูกต้องตามหลักวิชา (3) ตัวเลือก บางข้อ ไม่สอดคล้องกับ “ตอนนำ” (4) “ตอนนำ” เป็นประโยคที่ไม่สมบูรณ์ เฉลยคำตอบ (1)

เวลาสำหรับการซักถาม และร่วม อภิปราย จบการ นำเสนอ เวลาสำหรับการซักถาม และร่วม อภิปราย