การสื่อสารข้อมูลและ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Advertisements

การบริหารจัดการระบบเครือข่าย (Network management system)
การสื่อสารข้อมูลบนเครือข่าย
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
การเรียนครั้งที่ 9 บทที่ 4: “Telecommunications, the Internet, Intranets, and Extranets” โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์ อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
ตัวอย่างการใช้ประโยชน์ของการสื่อสาร
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ประโยชน์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์สื่อสารในระบบเครือข่าย เครือข่ายคอมพิวเตอร์ การสื่อสารข้อมูล
เทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
3.3ชนิดเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล เป็นกระบวนการถ่ายโอนข้อมูล/สารสนเทศจาก แหล่งกำเนิดข่าวสารผ่านสื่อกลาง เพื่อส่งไปยังจุดหมายปลายทางที่ต้องการ.
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
การนำสายใยแก้วนำแสงมาเชื่อมต่อ หัวเชื่อมต่อที่นิยมใช้มี ดังนี้
เครือข่ายการสื่อสารข้อมูลท้องถิ่น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Wireless Local Loop (WLL)
TelecommunicationAndNetworks
การรับ-ส่งวิทยุสื่อสารผ่านเครือข่าย VPN
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (WEB PROGRAMMING) บทที่ 1 ความรู้เบื้งต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวด์เว็บ และโปรโตคอลที่เกี่ยวข้อง โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร.
บทที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย (Fundamental of Data Communications and Networks) อ.ถนอม ห่อวงศ์สกุล.
รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน
1). ระบบเครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network : LAN)
เนื้อหา วัตถุประสงค์ของการใช้ระบบเครือข่าย
4/4/2017 การสื่อสารข้อมูล เทคโนโลยีเพื่อการส่งสัญญานข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง โดยมีองค์ประกอบพื้นฐาน 4 อย่าง คอมพิวเตอร์ หรือ หน่วยรับข้อมูล หรือ.
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการค้นคว้า
รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายแบ่งตามกลุ่มผู้ใช้
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
What’s P2P.
การสื่อสารข้อมูล Data Communication Chapter 10 วชิรธรรมสาธิต
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างเครือข่าย อาจารย์วันวิสาข์ บุญพ่วง วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Computer Networks
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
จัดทำโดย ครูสุพิชชา ตันติธีระศักดิ์
Data Communication and Network
เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่อสารข้อมูล 3(2-2) นก. (Computer Network System) โดย อ.สมบูรณ์ ภู่พงศกร Chapter 1 Introduction.
Introduction to Network
Green IT กรมทางหลวงชนบท.
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
Data transfer rate(bandwidth) protocol file server web server.
รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูล
วัตถุประสงค์ บอกความหมายและส่วนประกอบของการสื่อสารข้อมูลได้อย่าง ถูกต้อง บอกคุณสมบัติพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูลได้ บอกความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และประโยชน์
Chapter 3 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
กิจกรรมที่ เครือข่ายและ Internet explorer จุดมุ่งหมาย ให้ผู้เรียนรู้จักการใช้ประโยชน์ จากเครือข่าย ให้ผู้เรียนรู้จักการใช้ประโยชน์ จากเครือข่าย ให้ผู้เรียนรู้จักวิธีการเผยแพร่
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
Network Management and Design
โครงสร้างของเครือข่ายและเครือข่ายของคอมพิวเตอร์
รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่าย
NETWORK.
ระบบสื่อสารข้อมูลไร้สาย
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
คณะผู้จัดทำ 1. ด. ญ. สุกันยา มะลิวัลย์ 2. ด. ญ. พชรมน กองอรรถ 3. ด. ญ. สุรัสวดี ภู่รักษ์ เสนอ อาจารย์ พรทิพย์ ตองติดรัมย์ เครือข่ายระบบไร้สาย wirless LAN.
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 Networks and Data Communications
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
* ความหมายของระบบ เครือข่าย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึงการ นำเครื่องคอมพิวเตอร์ มาเชื่อมต่อเข้า ด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื่อสาร.
โรงเรียนกระทุ่มแบน “ วิเศษสมุทคุณ”
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
แบบ Star จะเป็นลักษณะของการต่อ เครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทาง ของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้นใน.
แบบดาว เป็นลักษณะของการต่อเครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทางของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้น ใน โทโปโลยี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสื่อสารข้อมูลและ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

พัฒนาการสื่อสารข้อมูล ระบบโทรศัพท์ ระบบโทรเลข

พัฒนาการสื่อสารข้อมูล ในปี 1876 Alexander Graham Bell แสดงให้เห็นว่าสามารถเปลี่ยน สัญญาณเสียงเป็นพลังงานไฟฟ้าได้ แล้วส่งพลังงานไฟฟ้าออกไป ผู้รับก็จะต้องแปลงพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของระบบโทรศัพท์

ประโยชน์การสื่อสารข้อมูลในปัจจุบัน สำนักงานสาขาใหญ่ สำนักงานสาขา 1 โรงงาน 1 Mainframe Computer สำนักงานสาขา 2 โรงงาน 2 Mini Computer คลังสินค้า การสื่อสารข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ

การสื่อสารข้อมูลเพื่อการบริการ ประโยชน์การสื่อสารข้อมูลในปัจจุบัน WWW Server Client การจองตั๋ว การค้นหาข้อมูล shopping การสื่อสารข้อมูลเพื่อการบริการ

ประโยชน์การสื่อสารข้อมูลในปัจจุบัน ธนาคาร การโอนเงินระหว่างธนาคาร การโอนเงินระหว่างประเทศ ATM ตลาดหลักทรัพย์ การซื้อขายหุ้น การสื่อสารข้อมูลด้านธุรกิจการเงิน

e-mail voice-mail video conference ประโยชน์การสื่อสารข้อมูลในปัจจุบัน การสื่อสารข้อมูลเพื่อแลกเปลี่ยนข่าวสาร

ความหมายของการสื่อสารข้อมูล การรับส่ง หรือแลกเปลี่ยนข้อมูล และสารสนเทศระหว่างต้นทาง และปลายทาง โดยผ่านตัวกลางส่งข้อมูลที่ใช้ในการสื่อสาร เช่น สายเคเบิล คลื่นวิทยุ โดยมีกฎเกณฑ์และขั้นตอนในการแลกเปลี่ยนข้อมูล เพื่อให้มีความถูกต้องของข้อมูลที่ทำการแลกเปลี่ยนกัน

องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูล 0001010111010011010111 1. ผู้ส่ง(Sender) 2. ผู้รับ (Receiver) 3. ข้อมูล/ข่าวสาร (Message) 4. ช่องทางการสื่อสาร (Communication Channel) 5. โปรโตคอล(Protocol)

องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูล

ผู้ส่ง (Sender) /ผู้รับ (Receiver) ผู้ส่ง/อุปกรณ์ส่ง ทำหน้าที่จัดส่งข้อมูลข่าวสาร ผู้รับ/อุปกรณ์รับ ทำหน้าที่รับข้อมูลข่าวสารที่ส่งมาจากผู้ส่ง อุปกรณ์ที่รับ-ส่งข้อมูลมี 2 ประเภท DTE (Data Terminal Equipment) อุปกรณ์ที่เป็นแหล่งกำเนิดหรือรับข้อมูล เช่น Terminal Computer, Printer, Client/Server Computer DCE (Data Communications Equipment) อุปกรณ์ที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล เช่น Modem, จานไมโครเวฟ , Repeater

ข่าวสาร (Message) ข่าวสารประกอบด้วยข้อมูลหรือสารสนเทศที่ได้ส่งมอบระหว่างกัน ซึ่งอยู่ในรูปของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผ่านไปในระบบการสื่อสาร ข่าวสารสามารถเป็นได้ทั้งข้อมูลที่เป็น ข้อความ ตัวเลข เสียง รูปภาพ วิดีโอ หรือมัลติมีเดีย

ช่องทางการสื่อสาร (Channel) ตัวกลางส่งข้อมูลหรือเส้นทางที่ใช้ในการสื่อสาร เพื่อนำข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง ตัวกลางส่งข้อมูลที่ใช้สาย เช่น สายโคแอกเซียล สายไฟเบอร์ออปติก สายโทรศัพท์ เป็นต้น ตัวกลางส่งข้อมูลแบบไร้สาย เช่น คลื่นไมโครเวฟ ดาวเทียม คลื่นวิทยุ เป็นต้น

โปรโตคอล (Protocol) กฎเกณฑ์หรือข้อตกลงที่ใช้สำหรับการสื่อสารข้อมูล เพื่อให้การสื่อสารระหว่างผู้รับ-ผู้ส่ง สามารถเข้าใจในภาษาเดียวกันและสื่อสารกันได้ มาตรฐานสากล (International Standards) วิธีการส่งข้อมูล (Transmission) การอินเตอร์เฟส (Interface) การเข้ารหัส (Coding) การตรวจสอบข้อผิดพลาด (Error Detection)

การสื่อสารข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์โดยผ่านทางระบบเครือข่ายโทรศัพท์สาธารณะ DTE DCE Communication Channel DTE/DCE Interface

การสื่อสารข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์โดยผ่านทางระบบเครือข่ายโทรศัพท์สาธารณะ (ต่อ) โมเด็ม (Modem) อุปกรณ์สำคัญที่ใช้ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ระยะไกล หรือใช้สำหรับการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต โมเด็มทำการแปลงสัญญาณคอมพิวเตอร์ (Digital) ให้เป็นสัญญาณเสียง (Analog) เพื่อส่งผ่านไปยังสายโทรศัพท์ ในขณะเดียวกันก็สามารถแปลงกลับจากสัญญาณเสียงให้เป็นสัญญาณคอมพิวเตอร์

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไป เพื่อแลกเปลี่ยนสารสนเทศและใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ร่วมกัน โดยผู้ใช้สามารถเชื่อมต่อเครือข่ายได้ในหลาย ๆ รูปแบบตามความต้องการของผู้ใช้

ข้อดีของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ความสะดวกในการสื่อสาร การสื่อสารผ่านอีเมล์ การสนทนา และการประชุมร่วมกันภายในเครือข่าย สะดวกในการดูแลระบบ สามารถดูแลและบริหารระบบได้จากที่เดียว ใช้ข้อมูลร่วมกัน การมีฐานข้อมูลอยู่ส่วนกลาง ซึ่งจัดเก็บบนเครื่องเซิร์ฟเวอร์ และผู้ใช้งานบนเครือข่ายสามารถใช้ข้อมูลและสารสนเทศในฐานข้อมูลได้ แต่การเข้าถึงข้อมูลนั้นขึ้นอยู่กับการกำหนดสิทธิการใช้งานของแต่ละบุคคลด้วย

ข้อดีของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (ต่อ) ใช้ฮาร์ดแวร์ร่วมกัน การใช้เครื่องพิมพ์ พื้นที่ในดิสก์ร่วมกันบนเครือข่าย ใช้ซอฟต์แวร์ร่วมกัน มีซอฟต์แวร์ที่จัดเก็บบนเครื่องเซิร์ฟเวอร์ เมื่อผู้ใช้งานต้องการใช้ซอฟต์แวร์ดังกล่าว ก็สามารถเรียกใช้งานซอฟต์แวร์นั้น แต่ต้องเป็นซอฟต์แวร์ที่สนับสนุนผู้ใช้หลายคน (Network Version)

ข้อจำกัดของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การเรียกใช้ข้อมูลทำได้ช้า การอ่าน/เขียนจะทำได้ช้ากว่าการอ่าน/เขียนกับฮาร์ดดิสก์ในเครื่อง ข้อมูลไม่สามารถใช้งานได้ทันที ถ้ามีคนอื่นใช้งานก่อนก็ต้องรอ เช่น เครื่องพิมพ์ หรือแฟ้มข้อมูล ยากต่อการควบคุมและดูแล เสี่ยงต่อการถูกขโมยข้อมูล หรือติดไวรัสคอมพิวเตอร์

การเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โหนด (Node) อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เชื่อมต่อกับเครือข่าย ไม่ว่าจะเป็นคอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ หรือ อุปกรณ์หน่วยความจำสำรอง ไคลแอนต์หรือเครื่องคอมพิวเตอร์รับบริการ (Client) เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ร้องขอและใช้ทรัพยากรจากโหนดอื่น ๆ เซิร์ฟเวอร์ หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ให้บริการ (Server) เครื่องคอมพิวเตอร์ที่อนุญาตให้โหนดอื่น ๆ ใช้ทรัพยากร เช่นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการไฟล์, บริการพิมพ์, บริการสื่อสาร, บริการเว็บ, บริการฐานข้อมูล

Computer Network Node

รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย (Computer Network Topology) อธิบายโครงร่างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบต่าง ๆ ว่ามีการจัดการเครือข่ายทางกายภาพและวิธีการเชื่อมต่อเครือข่ายอย่างไร รวมถึงลักษณะการใช้งานเครือข่ายและการแลกเปลี่ยนทรัพยากรต่าง ๆ Bus Topology Star Topology Ring Topology Fully Connected Topology Combined Topology

Bus Topology Work station File Server Mainframe Backbone

Star Topology Work station File Server Printer

Ring Topology Mainframe Work station File Server

Fully Connected Topology Mainframe File Server Work station

Fully Connection Topology Combined Topology Ring Topology Star Topology Bus Topology Fully Connection Topology

ประเภทของเครือข่าย LAN (Local Area Networks) ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดของเครือข่ายอยู่ภายในตึก หรือ การเชื่อมต่อเครือข่ายระหว่างตึกที่มีระยะทางใกล้ ๆ กัน ไม่เกิน 10 กม. มีอัตราในการส่งข้อมูลสูง MAN (Metropolitan Area Networks) ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดของเครือข่ายครอบคลุมในระดับตัวเมืองหรือจังหวัด เช่นการส่งข้อมูลด้วยคลื่นวิทยุ การแพร่ภาพด้วยระบบเคเบิลทีวี WAN (Wide Area Networks) ระบบเครือข่ายที่ครอบคลุมทั้งประเทศและทั่วโลก ใช้ดาวเทียม หรือ ระบบเครือข่ายโทรศัพท์ช่วยในการส่งข้อมูล มีอัตราการส่งข้อมูลต่ำ

ประเภทของเครือข่าย (ต่อ) MAN LAN WAN

ประเภทของเครือข่าย (ต่อ) MAN LAN MAN LAN WAN MAN LAN MAN LAN

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายแบบ Baseband : เป็นการสื่อสารที่สายสัญญาณหรือตัวกลางสามารถส่งได้เพียงหนึ่งสัญญาณในขณะใดขณะหนึ่ง เช่น ระบบโทรศัพท์ การสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์กับเครื่องพิมพ์/จอภาพ เป็นต้น ระบบเครือข่ายแบบ Broadband : เป็นการสื่อสารที่สายสัญญาณหรือตัวกลางสามารถส่งได้หลายช่องสัญญาณในขณะใดขณะหนึ่ง เช่น Cable TV

การประมวลผลข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบประมวลผลข้อมูลที่ศูนย์กลาง (Centralized Processing) ระบบประมวลผลข้อมูลแบบไคลเอนต์-เซิร์ฟเวอร์ (Client-Server Processing) ระบบการประมวลผลข้อมูลแบบกระจาย (Distributed Processing)

ระบบประมวลผลข้อมูลที่ศูนย์กลาง (Centralized Processing) การประมวลผลทั้งหมดเกิดที่เครื่องหลักเพียงเครื่องเดียว ซึ่งมักจะเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เช่น เมนเฟรม โหนดต่าง ๆ ที่เชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางอาจจะเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีความสามารถในการประมวลผลด้วยตัวเองเพียงเล็กน้อย หรือไม่มีเลยก็ได้ ปัจจุบันนิยมนำเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์มาทำเป็นเครื่องเทอร์มินัลโดยการติดตั้งซอฟต์แวร์พิเศษ เครื่องที่เชื่อมต่อเข้ามาทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์จากเครื่องศูนย์กลางเท่านั้น

ระบบประมวลผลข้อมูลที่ศูนย์กลาง (Centralized Processing) (ต่อ) ข้อดี – การประมวลผลทั้งหมดเกิดขึ้นอยู่ที่ศูนย์กลาง สามารถควบคุมซอฟต์แวร์และข้อมูลได้ง่าย ข้อเสีย - ผู้ใช้ไม่สามารถควบคุมการทำงานทั้งหมดด้วยตนเอง

ระบบประมวลผลข้อมูลแบบไคลแอนต์-เซิร์ฟเวอร์ (Client-Server Processing) ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์หนึ่งเครื่องทำหน้าที่ให้บริการเครื่องคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ภายในเครือข่าย นิยมเรียกเครื่องให้บริการนี้ว่า เซิร์ฟเวอร์ และเรียกเครื่องรับบริการว่า ไคลแอนต์ เครื่องเซิร์ฟเวอร์จะจัดสรรทรัพยากร เช่น เว็บเพจ ฐานข้อมูล โปรแกรมประยุกต์ และฮาร์ดแวร์ ให้กับเครื่องไคลแอนต์ตามที่ร้องขอ นำข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลจาก Server มาแสดงผลในรูปแบบต่าง ๆ ที่เหมาะสม Client (เครื่องลูกข่าย) ทำหน้าที่ในการโต้ตอบและรับข้อมูลจากผู้ใช้

ระบบประมวลผลข้อมูลแบบไคลเอนต์-เซิร์ฟเวอร์ (Client-Server Processing) (ต่อ) ข้อดี – ความสามารถในการบริหารระบบเครือข่ายขนาดใหญ่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ, มีโปรแกรมจัดการเครือข่ายทีสามารถควบคุมดูแลการทำงานของระบบเครือข่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข้อเสีย - ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งและการซ่อมบำรุงค่อนข้างสูง

ระบบประมวลผลข้อมูลแบบไคลเอนต์-เซิร์ฟเวอร์ (Client-Server Processing)(ต่อ)

ระบบการประมวลผลข้อมูลแบบกระจาย (Distributed Processing ) การประมวลผลที่ได้รับการพัฒนาในขั้นต่อมา กระจายการประมวลผลไปยังเครื่องต่าง ๆ ที่เชื่อมกันอยู่ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และนำผลลัพธ์มารวมกัน ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของการประมวลผลของระบบโดยรวม ลดจำนวนข้อมูลที่ต้องส่งผ่านเครือข่าย

Distributed Processing

Local Area Network (LAN) เครือข่ายระยะใกล้ ระดับท้องถิ่น เช่นในห้อง ในอาคาร หรืออาคารใกล้เคียง มีระยะทางการเชื่อมต่อประมาณ 30 เมตร เป็นเครือข่ายที่ใช้เพื่อสื่อสารกันภายในองค์กร และ เป็นเครือข่ายพื้นฐานสำหรับเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่น ๆอีกด้วย เช่น เครือข่ายอินทราเน็ตและอินเทอร์เน็ต เป็นต้น ข้อดี ประหยัดค่าใช้จ่ายในการจัดซื้ออุปกรณ์ที่สามารถใช้ร่วมกันได้ เช่น เครื่องพิมพ์ หรือสแกนเนอร์

Local Area Network (LAN) (ต่อ) ชนิดการเชื่อมต่อ มี 2 รูปแบบ เครือข่ายแบบพึ่งเครื่องบริการ (Server-based Networking) เครือข่ายแบบเท่าเทียมกัน (Peer-to-Peer Networking)

Local Area Network (LAN) (ต่อ) เครือข่ายแบบพึ่งเครื่องบริการ (Server-based Networking) มีคอมพิวเตอร์ 1 เครื่องที่เรียกว่า เซิร์ฟเวอร์ (Server) ทำหน้าที่เป็นผู้ให้บริการทรัพยากรต่าง ๆ แก่เครื่องคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ซึ่งเรียกว่า ไคลเอนท์ (Client) เรียกการทำงานที่ด้านไคลเอนท์ว่า Front-End Processing เรียกการทำงานในส่วนของเซิร์ฟเวอร์ว่า Back-end Processing

Local Area Network (LAN) (ต่อ) เครือข่ายแบบพึ่งเครื่องบริการ (Server-based Networking) หน้าที่ของเครื่องเซิร์ฟเวอร์ ควบคุมความปลอดภัยในระบบเครือข่าย จัดการกับความคับคั่งในระบบเครือข่าย ให้บริการทรัพยากรต่าง ๆ เช่น ข้อมูล โปรแกรม หรือการขอใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ตามแต่เครื่องไคลเอนท์จะร้องขอ

Server-based networking

Local Area Network (LAN) (ต่อ) เครือข่ายแบบเท่าเทียมกัน (Peer-to-Peer Networking) คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องในเครือข่ายนี้ จะสามารถแบ่งปันทรัพยากรต่าง ๆ เช่น ไฟล์ เครื่องพิมพ์ เพื่อใช้กันภายในเครือข่ายได้ การเชื่อมต่อแบบนี้ มักทำในเครือข่ายขนาดเล็กที่มีการเชื่อมต่อกันไม่เกิน 10 เครื่อง ซึ่งอาจเรียกว่า เวิร์กกรุ๊ป (Workgroup) แต่ละเครื่องสามารถติดต่อกันได้โดยตรง

Local Area Network (LAN) (ต่อ) Peer-to-Peer Networking

Local Area Network (LAN) (ต่อ) ข้อดีข้อเสียของเครือข่ายทั้ง 2 แบบ Server-based Peer-to-Peer ข้อดี เร็ว มีขีดความสามารถสูง มีฟังก์ชันให้ใช้มาก มีมาตรฐานที่ยอบรับกันทั่วไป ใช้กับเครือข่ายขนาดใหญ่ได้ ระบบความปลอดภัยสูง ราคาถูก ติดตั้งง่าย ใช้งานง่าย ไม่จำเป็นต้องเสียเครื่องไปทำเป็นเซิร์ฟเวอร์โดยเฉพาะ ข้อเสีย ราคาสูง ติดตั้งยากกว่า ต้องมีผู้ดูแลระบบ ความเร็วในการให้บริการไม่สูงเท่าแบบ Server-based ขยายระบบได้จำกัด ไม่เหมาะกับเครือข่ายขนาดใหญ่ ระบบความปลอดภัยไม่เข้มงวดมากนัก

ส่วนประกอบพื้นฐานของระบบ LAN เครื่องบริการและสถานีงาน (Server and Workstation) Network Operating System (NOS) แผงวงจรเชื่อมต่อเครือข่าย (Network Interface Card-NIC) ระบบการเดินสาย (Cabling System) ทรัพยากรและอุปกรณ์ที่ใช้งานร่วมกัน

Server และ Workstation File Server (บริการแฟ้มข้อมูล) Application Server / Database Server Print Server (บริการเครื่องพิมพ์) Server อาจให้บริการเพียงหนึ่งอย่างหรือหลายอย่างพร้อมกันก็ได้ สถานีงาน (Workstation) คือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ผู้ใช้งาน ใช้ในการติดต่อเข้าสู่เครือข่าย

Network Operating System (NOS) ระบบปฏิบัติการเครือข่าย ทำหน้าที่ควบคุมและทำงานร่วมกันกับเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ บนเครือข่าย การทำงานนี้รวมถึงการสื่อสาร การแลกเปลี่ยนสารสนเทศ และทรัพยากรต่าง ๆ โดยที่ NOS จะอยู่ที่เครื่อง Server

Network Operating System (NOS) (ต่อ) Windows Server ระบบปฏิบัติการที่ออกแบบมาเพื่อใช้งานกับระบบเครือข่ายโดยเฉพาะ เช่น Windows NT, Windows 2000, Windows Server 2003 ใช้งานในองค์กรขนาดเล็กและขนาดกลาง ติดตั้งและใช้งานกับเครื่องประเภทแม่ข่าย (Server) Solaris ระบบปฏิบัติการที่อยู่ในตระกูลเดียวกับระบบปฏิบัติการ Unix Novell’s Netware, IBM’s LAN Server, Banyan Vines

การ์ดเชื่อมต่อเครือข่าย (Network Interface Card-NIC) เรียกว่า การ์ดแลน หรืออีเธอร์เน็ตการ์ด เป็นการ์ดเพิ่มขยายที่เสียบเข้ากับช่องต่อขยาย (Expansion Bus) ของคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถต่อสายของเครือข่ายเข้ากับเครื่อง PC และทำการติดต่อส่งข้อมูลกับเครือข่ายได้

ระบบการเดินสาย (Cabling System) สื่อที่เชื่อมเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในเครือข่ายเข้าด้วยกัน เป็นได้ทั้ง Guided Media และ Unguided Media

ทรัพยากรและอุปกรณ์ที่ใช้งานร่วมกัน File ต่าง ๆ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ Hard Disk Printer Scanner

โครงสร้างของระบบเครือข่าย (Network Topology) ของ LAN Star Topology Bus Topology Ring Topology

Star Topology

Bus Topology

Ring Topology

การใช้บริการเครือข่ายไร้สาย Access Point (อุปกรณ์รับส่งสัญญาณ) เครื่องคอมพิวเตอร์ : PC / Notebook ที่ติดตั้ง Windows 98, ME, 2000, XP หรือ Pocket PC ที่ติดตั้ง ระบบปฏิบัติการ Windows CE และมี Slot PCMCIA การ์ด LAN ไร้สาย (Wireless Card) ที่ติดตั้งภายใน คอมพิวเตอร์ : ต้องเป็นมาตรฐาน 802.11b ซึ่งมีผู้ผลิต ได้แก่ Cisco,Orinoco,Toshiba, 3Com, Linksys เป็นต้น Driver ของ Wireless Card

Access Point Wireless LAN CARD

การติดตั้ง Wireless สำหรับเครื่อง PC เนื่องจากเครื่อง PC ไม่มี Slot PCMCIA จึง จำเป็นต้องมีการ์ด PCI Adapter ซึ่งทำหน้าที่เป็นอินเตอร์เฟสระหว่าง Wireless กับ Slot PCI บนเครื่อง PC

Home RF (Home Radio Frequency) ระบบเครือข่ายท้องถิ่นแบบไร้สายที่ออกแบบมาสำหรับการทำงานในบ้าน ใช้คลื่นความถี่ที่ 2.4 GHz ในการส่งข้อมูลด้วยอัตราเร็ว 1.6 Mbps ระยะทำการ 150 เมตร ใช้ในการเชื่อมการติดต่อกับอุปกรณ์ต่าง ๆ ภายในบ้าน

ระบบเครือข่ายระยะไกล (WAN) แบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ เครือข่ายส่วนตัว (Private Network) เครือข่ายสาธารณะ (Public Data Network)

เครือข่ายส่วนตัว (Private Network) จัดตั้งระบบเครือข่ายเฉพาะองค์กรที่เป็นเจ้าของเครือข่ายอยู่ เช่น องค์กรสาขาอาจทำการสร้างระบบเครือข่าย เพื่อเชื่อมต่อระหว่างสำนักงานใหญ่กับสาขาที่มีอยู่ ใช้ช่องทางการสื่อสารข้อมูลสาธารณะ เช่น สายโทรศัพท์ สายเช่า ดาวเทียม เป็นต้น

เครือข่ายส่วนตัว (Private Network) (ต่อ) ข้อดี คือ การรักษาความลับของข้อมูล สามารถควบคุมดูแลเครือข่ายและขยายเครือข่ายไปยังจุดที่ต้องการ ข้อเสีย คือ ต้องเสียค่าใช้จ่ายมาก ในกรณีที่ไม่ได้ส่งข้อมูลอย่างต่อเนื่องตลอดเวลาเมื่อเทียบกับการส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายสาธารณะ

เครือข่ายสาธารณะ (Public Network) บางครั้งเรียกว่า เครือข่ายมูลค่าเพิ่ม (Value Added Network) เป็นเครือข่ายระยะไกล (WAN) ซึ่งองค์กรได้รับสัมปทานทำการจัดตั้งขึ้น เพื่อให้บุคคลทั่วไปหรือองค์กรอื่น ๆ ที่ไม่ต้องการวางเครือข่ายเอง สามารถแบ่งเช่ากันใช้งานได้

เครือข่ายสาธารณะ (Public Network) (ต่อ) นิยมใช้ในการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายแบบ WAN เนื่องจากค่าใช้จ่ายต่ำกว่าการจัดตั้งเครือข่ายส่วนตัว สามารถใช้งานได้ทันทีโดยไม่ต้องเสียเวลาจัดตั้งเครือข่ายใหม่ และบริการให้เลือกหลากหลาย แตกต่างในราคา ความเร็ว ขอบเขตพื้นที่บริการ และความเหมาะสมกับงานแบบต่าง ๆ

ISDN (Integrated Service Digital Network) เป็นระบบเครือข่ายแบบดิจิทัล สามารถส่งได้ทั้งข้อมูล เสียง และภาพ อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถเชื่อมต่อได้โดยตรง ผ่านตัวเชื่อมดิจิทัล ไม่ต้องทำการแปลงสัญญาณดิจิทัล / อนาลอก

ISDN (ต่อ) สามารถต่ออินเทอร์เน็ตและคุยโทรศัพท์ได้พร้อมกัน ความเร็ว 112-200 kbps ข้อเสีย ต้องอยู่ในพื้นที่ ให้บริการเท่านั้น มักอยู่ในย่านธุรกิจ อุปกรณ์ราคาแพง หายาก ค่าบริการแพง

ATM (Asynchronous Transfer Mode) เทคโนโลยีนี้เหมาะสำหรับมัลติมีเดีย ใช้ได้ทั้ง LAN และ WAN ความเร็วอยู่ระหว่าง 25 - 155 Mbps, จนถึง 1 Gbps