Endoscopic and Laparoscopic Surgery Srinagarind Hospital [Surgical Part] In Srinagarind Hospital Khonkaen University, Khonkaen, Thailand รศ.นพ.เกรียงศักดิ์ เจนวิถีสุข ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประชุมวิชาการประจำปี 14 ตุลาคม พ.ศ.2552
ประวัติความเป็นมา พ.ศ. 2528 Eric M he ได้ทำการผ่าตัดถุงน้ำดีผ่านกล้องเป็นรายแรก ของเยอรมัน พ.ศ. 2531 Phillippe Mouret ผ่าตัดถุงน้ำดีผ่านกล้องเป็นรายแรก ของฝรั่งเศส พ.ศ. 2537 ผ่าตัด Laparoscopic Cholecystectomy เป็นครั้งแรกของ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ โดย “รศ.นพ.วัชรพงศ์ พุทธิสวัสดิ์” ซึ่งโดยก่อนหน้านั้น มีการทำ Endoscope ชนิดต่างๆ เช่นGastroscope Colonoscope ERCP Cystoscope อยู่ก่อนแล้ว
โครงการจัดตั้ง ศูนย์เพื่อความเป็นเลิศ สำหรับการผ่าตัดด้วยกล้อง 2547 โครงการจัดตั้ง ศูนย์เพื่อความเป็นเลิศ สำหรับการผ่าตัดด้วยกล้อง 2547 Project of Laparoscopic Surgery and Advanced Technology Surgery Excellent Center 2004
Endoscopic and Laparoscopic Surgery Excellent Center Concept : Economic cluster “เป็นกลุ่มผู้ประกอบการ ผู้จัดจำหน่าย และ ส่งสินค้าเฉพาะด้าน ผู้ให้บริการ และ สร้างพื้นฐาน องค์กรที่ให้ความรู้ ที่มีการเชื่อมโยงกันเฉพาะสาขาใดสาขาหนึ่ง ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง ช่องทางการจำหน่าย ลูกค้าและสถาบันที่เกี่ยวข้องสาขาหนึ่งในพื้นที่ หรือภูมิภาคหนึ่ง ซึ่งจะมีการร่วมมือกันและแข่งขันกัน” Prof. Michael E.Porter Concept : Medical cluster “ กลุ่มผู้ให้บริการทางการแพทย์ ที่มีลักษณะงานใกล้เคียงกัน มีความเชื่อมโยง และสนับสนุนกัน มีความเป็นพันธมิตรในการกำหนดกลยุทธ์ และ การสร้างเครือข่าย เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขัน และการสร้างความแตกต่าง กับกลุ่มผู้ให้บริการทางการแพทย์อื่น รวมทั้ง เพื่อการสร้างนวัตกรรม และองค์ความรู้ใหม่” K.J KKU
Endoscopic and Laparoscopic Surgery ข้อดีและประโยชน์ แผลมีขนาดเล็ก ถ้าผ่านสะดือจะไม่เห็นแผลเป็น หลังผ่าตัดปวดแผลผ่าตัดน้อย ทำให้ใช้ยาแก้ปวดน้อยลง ลดระยะเวลาการอยู่โรงพยาบาล ลดระยะเวลาการพักฟื้นก่อนกลับไปทำงาน ลดภาวะแทรกซ้อนหลังการผ่าตัด โดยเฉพาะเกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนเรื่องแผล ลดพังผืด หลังผ่าตัด ลดการบาดเจ็บต่อเนื้อเยื่ออื่นๆโดยตรง ลดการบาดเจ็บต่อเนื้อเยื่ออื่นจากการสัมผัสอากาศแห้งเป็นเวลานาน รวมทั้งลดการเสียน้ำ และความร้อน ระหว่างผ่าตัด โดยเฉพาะในผู้ป่วยเด็ก ศัลยแพทย์สามารถเห็นรอยโรค หรือพยาธิสภาพได้ชัดเจนขึ้นจากการขยายของเลนส์กล้อง ทำให้การผ่าตัดมีความปลอดภัยและแม่นยำขึ้น ข้อเสียและข้อจำกัด เครื่องมือเริ่มต้น เช่น ชุดกล้อง มีราคาแพง ต้องใช้อุปกรณ์เสริมอื่นเพิ่มเติมในบางการผ่าตัด ซึ่งผู้ป่วยอาจต้องจ่ายค่ารักษาเพิ่ม ต้องอาศัยศัลยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ป่วยบางกรณีไม่สามารถผ่าตัดได้ เช่น ผู้ป่วยที่มีโรคปอด โรคหัวใจ ผู้ป่วยที่อ้วนมากเกินไป หรือผู้ป่วยที่เคยผ่าตัดแบบเปิดขนาดใหญ่มาก่อน กรณีผู้ป่วยมะเร็งที่ก้อนมีขนาดใหญ่มาก(ก้อนมีขนาดโตกว่า 15 ซม.)
Endoscopic and Laparoscopic Surgery with Minimally Invasive Surgery GI Endoscope Upper GI scope Esophagoscope, Gastroscope Lower GI scope Colonoscope,Sigmoidoscope Hepoto-biliary ERCP, T-tube Choledochoscope Peritoneoscope Staging tumor, Biopsy EUS Endoscopic Ultrasound CVT Bronchoscope Thoracoscope Urology Cystoscope TUR +/- Prostatectomy Ureteroscope Nephroscope Laparoscopic Surgery Laparoscopic Appendectomy Laparoscopic Cholecystectomy Laparoscopic Colectomy Laparoscopic Hernioraphy Laparoscopic Adrenalectomy Laparoscopic Pancreatectomy Laparoscopic Spleenectomy Laparoscopic Nephrectomy Laparoscopic Ureteroplasty Laparoscopic Prostatectomy Laparoscopic Thyroidectomy Laparoscopic Catheter placement (CAPD) Laparoscopic for Diagnosis in Blunt Trauma Patient etc.
Therapeutic Endoscopy UGI Bleeding Colonic Polyp
Therapeutic Endoscopy ERCP Esophageal stent
Minimally Invasive Surgery Laparoscopic Surgery Minimally Invasive Surgery
Laparoscopic Cholecystectomy
Single Incision Laparoscopic Surgery SILS Port ระหว่างผ่าตัด
Single Incision Laparoscopic Surgery แผลผ่าตัดผ่านสะดือ แผลเมื่อผ่าตัดเสร็จ
Single Incision Laparoscopic Surgery
Laparoscopic Herniorraphy
Laparoscopic Appendectomy Commercial Loop Technique
Laparoscopic Appendectomy KKU Technique [Hem-o-lock clip]
Laparoscopic Appendectomy KKU Technique ระหว่างผ่าตัด แผลเมื่อผ่าตัดเสร็จ
Laparoscopic Appendectomy KKU Technique [Hem-o-lock clip] Copyright (Department of Surgery) 2009
Laparoscopic Appendectomy Scar after stitch off Closed Up
Single Incision Laparoscopic Appendectomy
Gasless Laparoscopic Thyroidectomy Thyroid Nodule Incision
Gasless Laparoscopic Thyroidectomy
Gasless Laparoscopic Thyroidectomy Technique and Result
Hand Assisted Laparoscopic Colectomy Double contrast Barium enema Carcinoma of Sigmoid colon
Hand Assisted Laparoscopic Colectomy Incision HALC
Hand Assisted Laparoscopic Colectomy Specimens Finish
Laparoscopic Distal Pancreatectomy CT scan : Insulinoma ระหว่างผ่าตัด
Laparoscopic Distal Pancreatectomy
Laparoscopic Distal Pancreatectomy ชิ้นเนื้อที่ผ่าตัดออก แผลเมื่อผ่าตัดเสร็จ
Laparoscopic Adrenalectomy CT-Abdomen Left adrenal mass
Laparoscopic Left Adrenalectomy
Radiofrequency Abrasion [RFA]
ขอบคุณครับ ผศ.นพ. พลากร สุรกุลประภา ขอขอบคุณ ศ.นพ.ทองอวบ อุตรวิเชียร และ ขอขอบคุณ ศ.นพ.ทองอวบ อุตรวิเชียร รศ.นพ.วัชรพงศ์ พุทธิสวัสดิ์ “ผู้บุกเบิกงานด้านศัลยกรรมทั่วไป และศัลกรรมส่องกล้อง ของภาควิชาศัลยศาสตร์” คณะผู้บริหารคณะแพทยศาสตร์ และ คณะผู้บริหารโรงพยาบาลศรีนครินทร์ “ที่เห็นความสำคัญและให้การสนับสนุนงานด้านการส่องกล้องและผ่าตัดด้วยกล้อง” ทีมวิสัญญีแพทย์และวิสัญญีพยาบาล รวมทั้ง ทีมพยาบาลห้องผ่าตัด “ที่ให้การสนับสนุนการรักษาพยาบาล การส่องกล้องและผ่าตัดด้วยกล้อง” รศ.นพ.โอวตือ แซ่เซียว, รศ.ไชยยุทธ ธนไพศาล,อ.นพ.เอกรินทร์ โชติกวนิชย์, อ.นพ.กฤษฎา เปานาเรียง,อ.นพ.สุริยะ พันธุ์ชัย แพทย์ใช้ทุน และ แพทย์ประจำบ้าน หน่วยศัลยศาสตร์ทั่วไป 3 “ที่ช่วยสนับสนุนและช่วยกันผ่าตัดส่องกล้อง” ผศ.นพ. พลากร สุรกุลประภา “ผู้ตัดต่อวีดิโอให้ด้วยความอดทน จนวินาทีสุดท้าย”