กฎหมายกับจารีตประเพณี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐกิจ พอเพียง.
Advertisements

ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
วัฒนธรรมและภูมิปัญญา มยุรฉัตร ผิวอ่อนดี ร.ร. ดงเจนวิทยาคม จ.พะเยา
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมโดยการใช้การศึกษาและจริยธรรม
นำเสนองาน my mapping เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ จัดทำโดย
เรื่อง หน้าที่พลเมือง
เกษตรตามแนว ทฤษฏีใหม่
พลเมืองดีตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
ไทยสบาย หรือไทยสปายะ (Thai Spaya)
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
HUMAN RIGHTS สิทธิมนุษยชน สำนักงานพระธรรมนูญทหารบก.
การบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน
แผนแม่บทงานวิจัย การสร้างเครือข่าย และการสนับสนุนงานวิจัยเชิงพาณิชย์
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
วิธีการสหกรณ์ อุดมการณ์ หลักการ นายบรรทูรย์ ราชิวงค์
1. Popular Sovereignty 2. Individuals Rights, Liberty, and Equality 3. Consent 4. Representation.
วิชาชีพสาธารณสุขของท้องถิ่นก้าวหน้า หรือล้าหลัง
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
๓ สถาบันทางสังคม (Social Institution)
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
ของฝากจากอาจารย์อ้อชุดที่28
พัฒนาการจังหวัดพิษณุโลก
คิดแบบพอเพียง ของคนพอเพียง.
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 มาตรา 66 บุคคลซึ่งรวมกันเป็นชุมชน ชุมชนท้องถิ่น หรือชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม.
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
รายละเอียดลักษณะตัวชี้วัดความสำเร็จกิจกรรมและผลการดำเนินงานควบคุมรายโรค โรคที่สำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข.
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ความรู้พื้นฐาน กับกฎหมายสาธารณสุข กานต์ เจิมพวงผล
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
การปฏิบัติงานร่วมกับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ภูมิหลังด้านทรัพยากรพันธุกรรม
บทที่10 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ กฎหมาย กฎหมาย คือ ข้อบังคับ ของรัฐซึ่งกำหนดความ ประพฤติของพลเมืองไว้ ถ้าผู้ใดฝ่าฝืนจะได้รับการ ลงโทษ โดยเจ้า พนักงานของรัฐ.
โดยนางสาวจงจิตร์ นีรนาทเมธีกุล ผู้อำนวยการสำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 16
โดย พลตรี กฤษณะ บวรรัตนารักษ์ ผู้ช่วยเจ้ากรมพระธรรมนูญ
หลักการยอกยาการ์ตา คำปรารภ
บทเรียนการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย
พัฒนาการของการคุ้มครองสิทธิในสิ่งแวดล้อม
กฎหมาย กับ ความเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรม
จารีตประเพณีและพหุนิยมทางกฎหมาย
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เงื่อนไขการรับฟ้องและ ในคดีปกครองด้าน สิ่งแวดล้อม
ใครเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ ตาม พระราชบัญญัติเครื่องสำอางบ้าง?
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
ความหมายและความสำคัญเกษตรทฤษฎีใหม่
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
วิชา หน้าที่พลเมืองฯ ม.1
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ตาม พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ มาตรา 12
บทที่ 3 ผลกระทบของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
Legal Ideology ตัวการกำหนดทิศทางในการใช้กฎหมาย 13 Legal Ideology.
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กฎหมายกับจารีตประเพณี จารีตประเพณี? ทิศทางของจารีตประเพณีในสังคมสมัยใหม่? 7 Law and Tradition

กฎหมายกับจารีตประเพณี กฎหมายมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาจากสังคมดั้งเดิมสู่สังคมสมัยใหม่ ในขณะที่จารีตประเพณีคือสิ่งที่ประพฤติปฏิบัติกันมาอย่างสืบเนื่องยาวนาน บางครั้งจารีตประเพณีของชนกลุ่มเล็กๆ อาจแตกต่างกันไปกับสังคมโดยรวม กฎหมายของรัฐสมัยใหม่ มีการจัดทำจากสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังนั้น กฎหมายจึงเกี่ยวข้องกับจารีตประเพณี ในหลายลักษณะต่างๆกัน อาจมองได้เป็น 3 ทาง : กฎหมายพัฒนามาจากจารีตประเพณี กฎหมายส่งเสริมจารีตประเพณี กฎหมายลบล้าง/จำกัดจารีตประเพณี 7 Law and Tradition

กฎหมายพัฒนา มาจากจารีตประเพณี กฎหมายมาจากแนวทางการปฏิบัติของคนในสังคม: บรรทัดฐาน norm, จารีต custom & ประเพณีtradition เช่น การซื้อขาย แลกเปลี่ยน ที่พัฒนามาเป็นกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยเรื่องลักษณะซื้อขาย Caveat emptor – let the buyer beware Caveat venditor – let the seller beware กฎหมายครอบครัว การหมั้น การสมรส 7 Law and Tradition

กฎหมายพัฒนา มาจากจารีตประเพณี โดยเฉพาะในประเทศที่ใช้ระบบกฎหมายแบบ Common Law  Customary Law 7 Law and Tradition

กฎหมายพัฒนา มาจากจารีตประเพณี กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ – การรับ ส่งสินค้า,ความรับผิดระหว่างผู้ซื้อผู้ขาย 7 Law and Tradition

หลักการพัฒนาสู่แนวทางปฏิบัติเป็นจารีตประเพณีทางกฎหมาย กฎหมายระหว่างประเทศ ส่วนใหญ่มีที่มาจากหลักการที่สร้างขึ้นเป็นแนวทางปฏิบัติระหว่างประเทศ เช่น การรบ Law of War หลักกฎหมายปิดปาก กฎหมายห้ามการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ 7 Law and Tradition

กฎหมายส่งเสริมจารีตประเพณี กฎหมายคุ้มครองจารีตประเพณี ในเชิงทำนุบำรุง 1. กำหนดให้ผู้ปกครองส่งเสริมและประพฤติปฏิบัติตามจารีตประเพณี รัฐธรรมนูญ ส่วนที่ 4 แนวนโยบายด้านศาสนา สังคม การสาธารณสุข การศึกษา และวัฒนธรรม “มาตรา 80 (5) ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัยในศิลปวิทยาการแขนงต่างๆ และเผยแพร่ข้อมูลผลการศึกษาวิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนการศึกษาวิจัยจากรัฐ (6) ส่งเสริมและสนับสนุนความรู้รักสามัคคีและการเรียนรู้ ปลูกจิตสำนึก และ เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีของชาติ ตลอดจนค่านิยมอันดีงามและภูมิปัญญาท้องถิ่น” กรมศิลปากร, สำนักงานวัฒนธรรมแห่งชาติ, สำนักงานการศึกษาแห่งชาติ – ภาษา ศิลปกรรม ประฏิมากรรม การละเล่น 7 Law and Tradition

กฎหมายส่งเสริมจารีตประเพณี กฎหมายคุ้มครองจารีตประเพณี ในเชิงทำนุบำรุง 2. การรับรองเสรีภาพให้มีการฟื้นฟูรักษาประเพณี มาตรา 66 ในรัฐธรรมนูญ “บุคคลซึ่งรวมกันเป็นชุมชน ชุมชนท้องถิ่น หรือชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม ย่อมมีสิทธิอนุรักษ์หรือฟื้นฟูจารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น และของชาติและมีส่วนร่วมในการจัดการ การบำรุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม รวมทั้งความหลากหลายทางชีวภาพอย่างสมดุลและยั่งยืน” 7 Law and Tradition

กฎหมายส่งเสริมจารีตประเพณี กฎหมายคุ้มครองจารีตประเพณี ในเชิงทำนุบำรุง 3. กฎหมายลงโทษผู้ที่ทำลายประเพณี เช่นกฎหมายว่าด้วยโบราณสถาน โบราณวัตถุ 7 Law and Tradition

กฎหมายที่รับรองการปฏิบัติตามจารีตประเพณี กฎหมายกำหนดให้การปฏิบัติตามประเพณียังสามารถทำได้สืบต่อไป เช่น ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ รับรองสิทธิตามประเพณีปฏิบัติที่ทำติดต่อกันมา ในเรื่องการจัดการที่ดิน 7 Law and Tradition

การนำปศุสัตว์เลี้ยงแบบปล่อย มาตรา 1353 บุคคลอาจพาปศุสัตว์ของตนผ่านหรือเข้าไปในที่ดินของผู้อื่นซิ่งมิได้กั้นเพื่อไปลี้ยง และอาจเข้าไปเอาน้ำในบ่อหรือสระในที่เช่นว่านั้น มาใช้ได้ เว้นแต่ที่ดินเป็นที่เพาะปลูก หรือเตรียมเพื่อเพาะปลูกหว่าน หรือมี ธัญชาติขึ้นอยู่แล้ว แต่ท่านว่าเจ้าของที่ดินย่อมห้ามได้เสมอ 7 Law and Tradition

มาตรา 1354 ถ้ามีจารีตประเพณีแห่งท้องถิ่นให้ทำได้ และถ้าเจ้าของ ไม่ห้าม บุคคลอาจเข้าไปในที่ป่า ที่ดง หรือในที่มีหญ้าเลี้ยงสัตว์ซึ่งเป็นที่ดินของผู้อื่น เพื่อเก็บฟืน หรือผลไม้ป่า ผัก เห็ดและสิ่งเช่นกัน 7 Law and Tradition

มาตรา 4 กฎหมายนั้น ต้องใช้ในบรรดากรณีซึ่งต้องด้วยบท บัญญัติใด ๆ แห่งกฎหมายตามตัวอักษร หรือตามความมุ่งหมาย ของบทบัญญัตินั้น ๆ เมื่อไม่มีบทกฎหมายที่จะยกมาปรับคดีได้ ให้วินิจฉัยคดีนั้นตาม จารีตประเพณีแห่งท้องถิ่น ถ้าไม่มีจารีตประเพณีเช่นว่านั้น ให้วินิจฉัย คดีอาศัยเทียบบทกฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างยิ่งและถ้าบทกฎหมาย เช่นนั้นก็ไม่มีด้วย ให้วินิจฉัยตามหลักกฎหมายทั่วไป 7 Law and Tradition

กฎหมายที่จำกัดจารีตประเพณี บางครั้งจารีตประเพณีก็ถูกมองว่าเป็นสิ่งโหดร้ายในสังคมปัจจุบัน กฎหมายจึงเข้าไปห้ามการปฏิบัตินั้น 1. Sati 7 Law and Tradition

กฎหมายที่จำกัดจารีตประเพณี บางครั้งจารีตประเพณีก็ถูกมองว่าเป็นสิ่งโหดร้ายในสังคมปัจจุบัน กฎหมายจึงเข้าไปห้ามการปฏิบัตินั้น 2. Honor Killing http://atlasshrugs2000.typepad.com/honor_killings/ End here ^^ 7 Law and Tradition

กฎหมายที่จำกัดจารีตประเพณี บางครั้งจารีตประเพณีก็ถูกมองว่าเป็นสิ่งโหดร้ายในสังคมปัจจุบัน กฎหมายจึงเข้าไปห้ามการปฏิบัตินั้น 3. Circumcision & Female genital mutilation (FGM) 7 Law and Tradition

จารีตประเพณีบางอย่างที่ถูกกฎหมายของรัฐจำกัด เช่น การผลิตเหล้าพื้นบ้าน 7 Law and Tradition

จากเดิมชาวบ้านต้มเหล้า ในงานเลี้ยงฉลองของชุมชน ปัจจุบัน ทำไมในสังคมสมัยใหม่จึงมีการออกกฎหมายจำกัดการผลิตเหล้าพื้นบ้าน – ห้ามต้มเหล้าเถื่อน! จากเดิมชาวบ้านต้มเหล้า ในงานเลี้ยงฉลองของชุมชน ปัจจุบัน รัฐออกกฎหมายมาควบคุมการผลิตเครื่องดื่มอัลกอฮอล์ และเก็บภาษี ต้องไปจดทะเบียนว่าจะผลิตเครื่องดื่มอัลกอฮอล์ (ต้องขออนุญาต) ควบคุมอายุผู้ดื่มเครื่องดื่มอัลกอฮอล์ คุมการโฆษณา ทำไม? คุ้มครองสังคม เพื่อสุขภาพของผู้ดื่ม? คุ้มครองสังคม จากการมัวเมาในอบายมุข? 7 Law and Tradition

จารีตประเพณีบางอย่างที่ถูกกฎหมายของรัฐจำกัด การจัดการระบบชลประทาน การตีฝายตามวิถึท้องถิ่น 7 Law and Tradition

จารีตประเพณีบางอย่างที่ถูกกฎหมายของรัฐจำกัด การจัดการป่า/ทรัพยากร 7 Law and Tradition

รัฐเข้ามาจัดการทรัพยากรธรรมชาติ – ดิน น้ำ ป่า จากเดิมชาวบ้านสามารถเข้ามาจัดการทรัพยากรในชุมชนของตัวเอง ปัจจุบัน รัฐออกกฎหมายกำหนดพื้นที่คุ้มครองประเภทต่างๆ เช่น ป่าไม้ อุทยานแห่งชาติ รัฐออกกฎหมายกำหนดจัดการที่ดินและน้ำ ทำไม? รักษาทรัพยากร สิ่งแวดล้อมเพื่อทุกคนในสังคม และคนในรุ่นต่อไป ประชากรมากขึ้นในโลกใบเดิม จึงต้องมีคนเข้ามาจัดสรรทรัพยากรอย่างเป็นธรรม คำถาม – ใครควรเป็นผู้จัดการ ผู้จัดสรร? 7 Law and Tradition

จารีตประเพณีบางอย่างที่ถูกกฎหมายของรัฐจำกัด คนเลี้ยงช้าง ประเพณีของชาวกุ่ย ที่สุรินทร์ การคล้องช้าง ช้างบ้าน = สัตว์พาหนะ ช้างป่า = สัตว์ป่าคุ้มครอง รัฐเข้ามาแทรกแซง ห้ามนำช้างมาเดินในเมือง ทำไม? คุ้มครองช้าง คุ้มครองคน คำถาม – แล้วคนเลี้ยงช้าง จะอยู่ได้อย่างไร? 7 Law and Tradition

จารีตประเพณีบางอย่างที่ถูกกฎหมายของรัฐจำกัด การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง 7 Law and Tradition

การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง – ประเพณีของคนภาคกลาง ค่ำไหน นอนนั่น ประหยัดค่าอาหารเป็ด ชาวนาได้ตัวช่วยกำจัดหอยเชอร์รี่ ช่วงไข้หวัดนกระบาด รัฐสั่งห้ามเลี้ยงสัตว์ปีกแบบปล่อย (ต้องเลี้ยงในโรงเรือนปิด) จัดระเบียบการเลี้ยงสัตว์ปีก ทำไม? รักษาสุขภาพ อนามัยของคนในสังคม ปัญหา คนเลี้ยงเป็ดจะไปหาที่ดินที่ไหนมาสร้างโรงเลี้ยง จะหาเงินที่ไหนมาซื้ออาหารให้เป็ดกิน ชาวนาขาดระบบกำจัดศัตรูพืชตามธรรมชาติ 7 Law and Tradition

ประเพณีบางอย่างไม่สอดคล้องกับกฎหมายปัจจุบัน 7 Law and Tradition

ทำไมจึงต้องมีการเข้ามาจำกัด/เปลี่ยนแปลงจารีตประเพณี? การรับเอาอิทธิพลของแนวคิดที่นิยมจารีตประเพณีจากผู้อื่น เช่น เรื่องกฎหมายครอบครัว การที่สังคมมีการศึกษาด้านต่างๆมากขึ้น/เหตุที่เข้ามาแทรกแซงการปฏิบัติตามประเพณี เช่น สุขภาพ สาธารณสุข สิ่งแวดล้อม แล้วนำมาปรับ 7 Law and Tradition

กฎหมายกำหนดกรอบเรื่องเหล่านี้อย่างไร? มาตรา 28 บุคคลย่อมอ้างศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์หรือใช้สิทธิและเสรีภาพของตนได้เท่าที่ไม่ละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลอื่น ไม่เป็นปฏิปักษ์ต่อรัฐธรรมนูญ หรือไม่ขัดต่อศีลธรรมอันดีของประชาชน บุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพที่รัฐธรรมนูญนี้รับรองไว้ สามารถยกบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้เพื่อใช้สิทธิทางศาลหรือยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้คดีในศาลได้ บุคคลย่อมสามารถใช้สิทธิทางศาลเพื่อบังคับให้รัฐต้องปฏิบัติตามบทบัญญัติในหมวดนี้ได้โดยตรงหากการใช้สิทธิและเสรีภาพในเรื่องใดมีกฎหมายบัญญัติรายละเอียดแห่งการใช้สิทธิและเสรีภาพตามที่รัฐธรรมนูญนี้รับรองไว้แล้ว ให้การใช้สิทธิและเสรีภาพในเรื่องนั้นเป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับการส่งเสริม สนับสนุน และช่วยเหลือจากรัฐ ในการใช้สิทธิตามความในหมวดนี้ 7 Law and Tradition

กฎหมายกำหนดกรอบเรื่องเหล่านี้อย่างไร? มาตรา 29 การจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลที่รัฐธรรมนูญรับรองไว้ จะกระทำมิได้เว้นแต่โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย เฉพาะเพื่อการที่รัฐธรรมนูญนี้กำหนดไว้และเท่าที่จำเป็น และจะกระทบกระเทือนสาระสำคัญแห่งสิทธิและเสรีภาพนั้นมิได้ 7 Law and Tradition

การปะทะกันของสิทธิต่างๆ มาตรา 32 บุคคลย่อมมีสิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย การทรมาน ทารุณกรรม หรือการลงโทษด้วยวิธีการโหดร้ายหรือไร้มนุษยธรรมจะกระทำมิได้แต่การลงโทษตามคำพิพากษาของศาลหรือตามที่กฎหมายบัญญัติไม่ถือว่าเป็นการลงโทษด้วยวิธีการโหดร้ายหรือไร้มนุษยธรรมตามความในวรรคนี้ กับสิทธิที่จะปฏิบัติตามจารีตประเพณีดั้งเดิมของตนเอง มาตรา 66 ในรัฐธรรมนูญ “บุคคลซึ่งรวมกันเป็นชุมชน ชุมชนท้องถิ่น หรือชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม ย่อมมีสิทธิอนุรักษ์หรือฟื้นฟูจารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น และของชาติและมีส่วนร่วมในการจัดการ การบำรุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม รวมทั้งความหลากหลายทางชีวภาพอย่างสมดุลและยั่งยืน” 7 Law and Tradition

หลักการที่เข้ามาอธิบาย สิทธิในการกำหนดอนาคตของตนเอง คำถามสำคัญ คือ ใครเป็นผู้ตัดสินใจว่าควรจะอนุญาตให้มีการปฏิบัติตามประเพณีต่อไปหรือไม่? หลักการที่เข้ามาอธิบาย สิทธิในการกำหนดอนาคตของตนเอง Self – determination สิทธิของชนเผ่าพื้นเมือง Rights of Indigenous Peoples พหุนิยมทางกฎหมาย Legal pluralism จบ ☃ 7 Law and Tradition