ชนิดของหินโดยประมาณ พบเป็น โดยรวมหินแปรไว้ในหินต้นกำเนิดเหล่านี้แล้ว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ โรงเรียนอุดมดรุณี จังหวัดสุโขทัย
Advertisements

สารชีวโมเลกุล : โปรตีน
วิธีสารแยกสารเนื้อผสม การใช้มือหยิบออก,เขี่ยออก
วัฏจักรของสารในระบบนิเวศ
โครงงาน เรื่อง. ปุ๋ยฟื้นฟูสภาพดิน จัดทำโดย 1. ด. ญ
ซากดึกดำบรรพ์ .
แผ่นดินไหว.
ลักษณะของระบบนิเวศ Succession /Development ecosystem
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
ครูนุชนารถ เมืองกรุง โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ. เมือง จ. พะเยา
สมบัติของสารและการจำแนก
ชุดทดสอบ ปรอทแอมโมเนีย ในเครื่องสำอาง
ภาวะโลกร้อน นายอัศวิน สมบูรณชนะชัย คณะอุตสาหกรรมเกษตร ปี2.
หินแปร (Metamorphic rocks)
ดาวอังคาร (Mars).
(Structure of the Earth)
โดย อาจารย์ อนุกูล บูรณประทีปรัตน์
and Sea floor spreading
เครื่องดนตรีไทย นางสาวสุชาวดี เจริญธรรม ม.4/1 เลขที่ 20.
สบู่สมุนไพร.
กลุ่ม ดาวโลก ด.ญ.กรรณิการ์ เพ็งเอี่ยม เลขที่ 11 ม.2/1
ขอบเขตของเทคโนโลยีสารสนเทศ
อะตอมของออกซิเจน.
ควอรตซ์ ไมก้า เฟลด์สปาร์ แอมฟิโบล ไพร็อกซีน แคลไซต์ แร่ประกอบหิน.
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
รายงาน เรื่อง การเกิดแผ่นดินไหว นาย สุรัชชัย สายโอภาส ม. 5/3
น้ำและมหาสมุทร.
โครงสร้างปัจจุบัน สำนักสำรวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา
สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์
สัณฐานและโครงสร้างของโลก
เปลือกโลก(crust) ประกอบด้วย Oxygen 45.2 ซิลิกอน 27.2 อลูมิเนียม 8.2
Page: 1 การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ อ. บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 3 กรกฎาคม 2550 File Uploading & Shell มหาวิทยาลัยโยนก.
สายใยในผัก โดย กลุ่ม รักสุขภาพ.
การจัดการน้ำ WATER MANAGEMENT.
ไทยได้ประโยชน์อะไร จากการเปิดเสรีอาเซียน-จีน
BY NONGLAK WANSOM Saparachinee School Trang Thailand
( Stanum ใช้สัญลักษณ์ Sn )
สภาพทางสังคม และ วัฒนธรรม ของทวีปยุโรป
ลักษณะทางกายภาพของ ทวีปยุโรป.
เรื่อง ทรัพยากรธรรมชาติในทวีปยุโรป
วิชาวิทยาศาสตร์ (ว31101 )ชั้น ม. 1
การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ
โลกของเรา (โครงสร้างและส่วนประกอบ)
การจำแนกประเภทของสาร
แร่ทองแดง (Copper) และ แร่พลวง (Antimony)
โลก (Earth).
กล้วย.
วิชา งานสีรถยนต์.
โดย ครูธันว์ชนก บัวคงดี
ดวงจันทร์ (Moon).
5. Geologic Time F.S.Singharajwarapan.
โลกและการเปลี่ยนแปลง
การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีภาค
ดาวพุธ (Mercury).
ชื่อเรื่อง วัฏจักรของน้ำ จัดทำโดย เด็กชาย โชคชัย คำมะยอม เลขที่ 37 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 เสนอ อ.อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร สารบัญ.
Knovel E-Books Database.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
โครงสร้างภายในของโลก แบ่งตามคุณสมบัติทางกายภาพ
นำเสนอ อาจารย์คมกฤช มานิตกุล จัดทำโดย
น้ำ.
หญ้าแฝกพืชมหัศจรรย์ นำเสนอโดย กลุ่มสัตว์ปีก.
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ข้อเสนอความคิดเห็นโรงงานถลุงหรือหลอมโลหะ รวมเหล็กและเหล็กกล้า
หินแกรนิต หินแปรเนื้อหยาบ มีริ้วขนาน หยักคดโค้งไม่สม่ำเสมอ สีเข้มและจางสลับกัน แปรสภาพมาจากหินแกรนิต โดยการแปรสภาพบริเวณไพศาล ที่มีอุณหภูมิสูงจนแร่หลอมละลาย.
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ตำแหน่งบนพื้นโลก
โครงสร้างโลก.
อำนาจหน้าที่ของศึกษาธิการจังหวัด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชนิดของหินโดยประมาณ พบเป็น โดยรวมหินแปรไว้ในหินต้นกำเนิดเหล่านี้แล้ว โลกเกิดมาได้แล้วประมาณ 4600 ล้านปี โดยนักดาราศาสตร์สันนิษฐานว่า เกิดจากการหมุนวนของฝุ่นและแก๊ส ในอวกาศที่ เรียกว่า เนบิวลา แรงโน้มถ่วงระหว่างมวลทำให้ฝุ่นและแก๊สในอวกาศเกิดการยุบตัวและรวมกันจน ในที่สุดกลายเป็นระบบสุริยะ  ในปัจจุบัน พบว่าองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นหินอัคนี และหินแปร โดยมีหินชั้นประกอบอยู่น้อยมาก สามารถจำแนกตามประเภทและ ชนิดของหินโดยประมาณ พบเป็น หินอัคนี  95%  หินดินดาน  4%  หินทราย  0.75%  หินปูน  0.25%  โดยรวมหินแปรไว้ในหินต้นกำเนิดเหล่านี้แล้ว

1. ชั้นเปลือกโลก 2. ชั้นเนื้อโลก 3. ชั้นแก่นโลก นักธรณีวิทยาศึกษาโครงสร้างภายในโลกจากการเดินทางของ “คลื่นซิสมิค” (Seismic waves) คือ คลื่นไหวสะทือนที่มีลักษณะคล้ายคลื่นแผ่นดินไหว ในการสำรวจโครงสร้างภายในของโลก ผลจากการตรวจวัดคลื่นไหวสะเทือนทำให้นักวิทยาศาสตร์ทราบว่าโครงสร้างภายในของโลกตามองค์ประกอบทางเคมีแสดงลักษณะเป็นชั้น แต่ละชั้นมีสมบัติทางกายภาพที่แตกต่างกัน เมื่อแบ่งโครงสร้างของโลกตามลักษณะมวลสารสามารถแบ่งออกเป็นชั้นใหญ่ 3 ชั้น คือ  1. ชั้นเปลือกโลก 2. ชั้นเนื้อโลก 3. ชั้นแก่นโลก

เปลือกโลกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ดังนี้ เปลือกโลก (Crust) คือ ส่วนชั้นนอกสุดของโลก ประกอบด้วยส่วนที่อยู่ภายนอกที่เป็นแผ่นดินและน้ำกับส่วนที่เป็นหินแข็งซึ่งฝังลึกลงไปใต้ผิวดินและผิวน้ำ เปลือกโลกหนาประมาณ 6-35 กิโลเมตร เปลือกโลกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ดังนี้ 1. เปลือกโลกภาคพื้นทวีป หมายถึง ส่วนที่เป็นแผ่นดินทั้งหมด ประกอบด้วย ธาตุซิลิคอนและอะลูมิเนียมเป็นส่วนใหญ่ มีสีจาง เรียกหินชั้นนี้ว่า หินไซอัล (Sial)  ซึ่งเป็นหินแกรนิต 2.  เปลือกโลกใต้มหาสมุทร หมายถึง ส่วนของเปลือกโลกที่ปกคลุมด้วยน้ำ ประกอบด้วยธาตุซิลิคอนและแมกนีเซียมเป็นส่วนใหญ่ มีสีเข้ม เรียกหินชั้นนี้ว่า หินไซมา (sima)  ซึ่งเป็นหินบะซอลต์

ชั้นเนื้อโลก (mantle) เป็นชั้นที่อยู่ถัดลงไปจากเปลือกโลก ประกอบด้วยหินและแร่ธาตุต่าง ๆ หลายชนิด ซึ่งเป็นหินอัคนี ชั้นแมนเทิลมีความหนาประมาณ 3,000 กิโลเมตร  แบ่งเป็น 3 ชั้น คือ 1.ชั้นเนื้อโลกส่วนบน เป็นหินที่เย็นตัวแล้ว บางส่วนมีรอยแตก เนื่องจากความ เปราะ ชั้นเนื้อโลกส่วนบนกับชั้นเปลือกโลก รวมกันเรียกว่า ธรณีภาค (lithosphere) มีความหนาประมาณ 100 กิโลเมตรนับจากผิวโลกลงไป 2. ชั้นฐานธรณีภาค (asthenosphere) มีความลึก 1002350 กิโลเมตร เป็นชั้นที่มีแมกมา ซึ่งเป็นหินหนืดหรือหินหลอมละลายร้อนจัดประกอบด้วยธาตุซิลิกอน เหล็ก และอลูมิเนียม หมุนวนอยู่ภายในโลกอย่างช้าๆ 3. ชั้นเนื้อโลกชั้นล่างสุด อยู่ที่ความลึก 35022,900 กิโลเมตร เป็นชั้นที่เป็นของแข็งร้อนแต่แน่นและหนืดกว่าตอนบน มีอุณหภูมิสูงประมาณ 2,25024,500 องศาเซลเซียส

ชั้นแก่นโลก (core) คือ ส่วนชั้นในสุดของเปลือกโลก ชั้นนี้หนาประมาณ 2,900 กิโลเมตรประกอบด้วยธาตุเหล็กและนิเกิลเป็นส่วนใหญ่ มีความหนาแน่นมาก มีทั้งส่วนที่เป็นของแข็งและของเหลว (หินหนืด) แก่นโลกแบ่งออกเป็น 2 ชั้น ดังนี้ 1. แก่นโลกชั้นนอก (Outer Core) อยู่ที่ความลึก 2,90025,100 กิโลเมตร เชื่อว่าประกอบด้วยสารเหลวร้อนของโลหะเหล็กและนิกเกิลเป็นส่วนใหญ่ มีความร้อนสูงมาก 2. แก่นโลกชั้นใน (Inner Core) อยู่ที่ความลึก 5,10026,370 กิโลเมตร มีส่วนประกอบเหมือนแก่นโลกชั้นนอก แต่อยู่ในสภาพแข็ง เนื่องจากมีความดันและอุณหภูมิสูงมาก อาจสูงถึง 6,000 องศาเซลเซียส

โครงสร้างและองค์ประกอบของโลก ตารางแสดง โครงสร้างและองค์ประกอบของโลก ชั้นโครงสร้าง ส่วนประกอบทางเคมี สถานะ 1. อุทกภาค (Hydrosphers) - เปลือกโลกภาคพื้นทวีป (ไซอัล) - เปลือกโลกใต้มหาสมุทร (ไซมา) น้ำเค็ม น้ำจืด หิมะ  และน้ำแข็ง ซิลิกอน และอลูมิเนียม (กลุ่มหินสีจาง) ซิลิกอน และแมกนีเซียม (กลุ่มหินสีเข้ม) ของเหลว (บางส่วนเป็นของแข็ง) 2. ธรณีภาค (Lithosphere)    -  เปลือกโลกรวมกับเนื้อโลก ส่วนบนสุด  แร่ซิลิเกตทั่วไป   หินบะซอลต์                     ของแข็ง 3.ฐานธรณีภาค (Asthenosphere)     - เนื้อโลก (mantle) เหล็ก ซิลิกอน และอลูมิเนียม ฐานธรณีภาคตอนบนเป็นของเหลวตอนล่างของแข็ง 4. แก่นโลก (core) โลหะผสมเหล็ก - นิกเกิล แก่นโลกชั้นนอกเป็นของเหลว แก่นโลกชั้นในเป็นของแข็ง

ศึกษาเพิ่มเติมได้ที่ วีดีโอเพิ่มเติม http://www.youtube.com/watch?v=xomr8odQdY0 http://www.youtube.com/watch?v=Glzh3Y1MlDc ความรู้เพิ่มเติม http://www.nakhamwit.ac.th/pingpong_web/Earth_Struction.htm http://www.baanjomyut.com/library_2/changes_in_the_earth/04.html สื่อการเรียนรู้เพิ่มเติม ครูติ๊ก http://www.learnbytechno.com/