ไฟป่า(Forest Fire).

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีใหม่.
Advertisements

“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”
นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
พายุฝนฟ้าคะนอง(Thunder storm)
ห้องปฏิบัติการต่างๆ.
ดิน(Soil).
บทที่ 2 เรื่อง ลมฟ้าอากาศ
ทะเบียนเกษตรกร กรมส่งเสริมการเกษตร.
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
ภาวะโลกร้อน ด.ช เกียรติณรงค์ นันทปัญญา ม.2/2 เลขที่ 2
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
หากไม่มีการช่วยกันแก้ไขปัญหาโลกร้อนในวันนี้ ในอนาคตจะส่งผลกระทบต่อประเทศไทยอย่างไร 1. ทำให้ฤดูกาลของฝนเปลี่ยนแปลงไป กระบวนการระเหยและการกลั่นตัวจะเร็วขึ้น.
โดย นางภัทรา คำสีทา ตำแหน่ง ครู ค.ศ.๑ โรงเรียนนาด้วงวิทยา
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
เกษตรตามแนว ทฤษฏีใหม่
ความสำคัญของพืชและอนาจักรพืช
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
คลื่นพายุซัดชายฝั่ง กลุ่มที่6.
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
การดูแลสวน (Garden Maintenance)
การบริหารจัดการด้านอุบัติภัยสารเคมี
มาตรฐานสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง
เศรษฐกิจแบบพอเพียง.
การพักตัวของเมล็ด (Seed dormancy)
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับการตัดไม้ทำลายป่า และการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้
มลพิษทางอากาศ โชคชัย บุตรครุธ.
วิกฤตการณ์ทรัพยากรป่าไม้ในประเทศไทย
Demonstration School University of Phayao
สถานการณ์ แนวโน้มและผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
หลักสูตรการอบรมครูผู้ดูแลเด็ก
สถานที่ท่องเที่ยวอำเภอ สามร้อยยอด
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
แนวทางการดำเนินงานในการสำรวจพื้นที่ล่อแหลม
การเตรียมชุมชน ก่อนพ่นสารเคมี
3. ข้อมูลแหล่งน้ำที่พัฒนา
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
โครงการแก้ปัญหาภัยพิบัติโดยชุมชน บ้านห้วยลากปืนใน ต. ห้วยไร่ อ
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากร
ภาวะโลกร้อน โดย น.ส.สมลักษณ์ แจ่มโฉม รหัส กลุ่ม 10.
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
การป้องกันไฟไหม้สวนยางในฤดูแล้ง
บทที่ 4 พืชมีการตอบสนอง
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม ชมเชยที่ 4
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
8. 3 ที่มาของปัญหาด้านคุณภาพน้ำ 1.) ประชากรเพิ่ม …. โดยเฉพาะในเขต ชุมชนหนาแน่น 2.) การใช้เทคโนโลยีไม่ถูกวิธี / ใช้มาก / ใช้ ไม่เหมาะสม … เกิดฝนกรดจากการเผา.
เกษตรทฤษฎีใหม่.
ความหมายและความสำคัญเกษตรทฤษฎีใหม่
การจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
1. นายพชรดนัย บุญประเสริฐ ม.4/10 เลขที่ 5 2. นายปริญญา จีนสมุทร ม.4/10 เลขที่ 7 3. นายพุฒิพงศ์ วนะวนานนท์ ม.4/10 เลขที่ นายสาธิต ตันตระกูล ม.4/10.
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
ดินถล่ม.
ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์
สำรวจสภาพปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
Natural Resources Benjavun Ratanasthien Department of Geological Sciences, Faculty of Sciences, Chiang Mai University.
โลกร้อน!!ครับ ภาวะโลกร้อน คือ การที่ อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มขึ้นจากภาวะเรือน กระจก หรือที่เรารู้จักกันดีในชื่อ ว่า Green house effect ซึ่งมีต้นเหตุจากการที่มนุษย์
อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
พายุ นางสาวศิริลักษณ์ กันสงค์ กลุ่ม 10 รหัส
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
ภัยธรรมชาติ ที่เกิดขึ้นในจังหวัดน่าน
บทที่ 8 การใช้ประโยชน์จากผลพลอยได้และเศษเหลือทิ้ง
โดย สถานีพัฒนาอาหารสัตว์สุพรรณบุรี
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ไฟป่า(Forest Fire)

(สรุป) สาเหตุของการเกิดไฟป่า ไฟป่าเกิดจาก 2 สาเหตุ คือ 1. เกิดจากธรรมชาติ คือ 1.1 ฟ้าผ่า เป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดไฟป่าในเขตอบอุ่น ในประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศแคนาดา พบว่ากว่าครึ่งหนึ่งของไฟป่าที่เกิดขึ้นมีสาเหตุมาจากฟ้าผ่า ทั้งนี้โดยที่ฟ้าผ่าแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ (1) ฟ้าผ่าแห้ง (Dry or Red Lightning) คือ ฟ้าผ่าที่เกิดขึ้นในขณะที่ไม่มีฝนตก มักเกิดในช่วงฤดูแล้ง สายฟ้าจะเป็นสีแดง เกิดจากเมฆที่เรียกว่าเมฆฟ้าผ่า ซึ่งเมฆดังกล่าวจะมีแนวการเคลื่อนตัวที่แน่นอนเป็นประจำทุกปี (2) ฟ้าผ่าเปียก (Wet or Blue Lightning) คือ ฟ้าผ่าที่เกิดควบคู่ไปกับการเกิดพายุฝนฟ้าคะนอง ประกายไฟที่เกิดจากฟ้าผ่าจึงมักไม่ทำให้เกิดไฟไหม้ หรือ อาจเกิดได้บ้างแต่ไม่ลุกลามไปไกล เนื่องจากความชื้นสัมพัทธ์และความชื้นของเชื้อเพลิงสูง ฟ้าผ่าในเขตร้อนรวมถึงประเทศไทยมักจะเป็นฟ้าผ่าเปียก จึงแทบจะไม่เป็นสาเหตุของไฟป่าในเขตร้อนนี้เลย

1.2 กิ่งไม้เสียดสีกัน อาจเกิดขึ้นได้ในพื้นที่ป่าที่มีไม้ขึ้นอยู่อย่างหนาแน่นและมีสภาพอากาศแห้งจัด เช่น ในป่าไผ่หรือป่าสน 2. สาเหตุจากมนุษย์ได้แก่ 2.1 เก็บของป่า ส่วนใหญ่การจุดไฟส่วนใหญ่เพื่อให้พื้นป่าโล่ง เดินสะดวก หรือให้แสงสว่างในระหว่างการเดินทางผ่านป่าในเวลากลางคืน หรือจุดเพื่อกระตุ้นการงอกของเห็ด หรือกระตุ้นการแตกใบใหม่ของผักหวานและใบตองตึง หรือจุดเพื่อไล่ตัวมดแดงออกจากรัง รมควันไล่ผึ้ง หรือไล่แมลงต่างๆ ในขณะที่อยู่ในป่า 2.2 เผาไร่ เพื่อกำจัดวัชพืชหรือเศษซากพืชที่เหลืออยู่ภายหลังการเก็บเกี่ยว เพื่อเตรียมพื้นที่เพาะปลูกในรอบต่อไป ดยปราศจากการทำแนวกันไฟและปราศจากการควบคุม ไฟจึงลามเข้าป่าที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียง

2.3 แกล้งจุด ในกรณีที่ประชาชนในพื้นที่มีปัญหาความขัดแย้งกับหน่วยงานของรัฐในพื้นที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเรื่องที่ทำกินหรือถูกจับกุมจากการกระทำผิดในเรื่องป่าไม้ 2.4 ความประมาท เกิดจากการเข้าไปพักแรมในป่า ก่อกองไฟแล้วลืมดับ หรือทิ้งก้นบุหรี่ลงบนพื้นป่า เป็นต้น 2.5 ล่าสัตว์ โดยใช้วิธีไล่เหล่า คือจุดไฟไล่ให้สัตว์หนีออกจากที่ซ่อน 2.6 เลี้ยงปศุสัตว์ ประชาชนที่เลี้ยงปศุสัตว์แบบปล่อยให้หากินเองตามธรรมชาติ มักลักลอบจุดไฟเผาป่าให้โล่งมีสภาพเป็นทุ่งหญ้าเพื่อเป็นแหล่งอาหารสัตว์ 2.7 ความคึกคะนอง บางครั้งการจุดไฟเผาป่าเกิดจากความคึกคะนองของผู้จุด โดยไม่มีวัตถุประสงค์ใดๆ แต่จุดเล่นเพื่อความสนุกสนาน เท่านั้น

(สรุป) การป้องกัน 1.หากไม่จำเป็นไม่ควรจุดไฟในป่า หากจุดไฟต้องควบคุมให้ไฟดับโดยสนิท 2. ทำระบบป้องกันไฟไหม้ป่า โดยใช้แนวคลองส่งน้าและแนวพืชชนิดต่างๆ ปลูกตามแนวคลอง 3. สร้างระบบการควบคุมไฟป่าด้วยแนวป้องกันไฟ ป่าเปียก โดยอาศัยน้าชลประทานและน้ำฝน 4. การสูบน้ำเข้าไปในระดับที่สูงที่สุดเท่าที่จะทาได้ แล้วปล่อยน้าลงมาทีละน้อยให้ค่อยๆ ไหลซึมลงดิน ให้กลายเป็น "ป่าเปียก" ซึ่งสามารถป้องกันไฟป่าได้อีกด้วย 5. ช่วยเฝ้าระวังเหตุ และแจ้งเหตุไฟป่า ให้เจ้าหน้าที่ทราบ เพื่อการระงับเหตุด้วยความรวดเร็วลดการสูญเสีย 6. ช่วยบอกต่อถึงผลเสีย และอันตรายจากไฟป่าให้ผู้อื่นทราบ เพื่อไม่ให้ผู้อื่นเป็นสาเหตุของการเกิดไฟป่า

(สรุป) การเตรียมตัวเมื่อเกิดไฟป่า 1. เมื่อเกิดไฟป่า ควรสวมหน้ากากกันควันไฟ 2. เตรียมพร้อมประเมินสถานการณ์ เพื่อตัดสินใจที่จะอพยพหรืออยู่หลบภัยในที่พัก 3. ควรที่จะอพยพไปในทิศเหนือลม 4. วางแผนที่จะติดต่อสื่อสารถึง เพื่อน ญาติพี่น้อง หรือครอบครัว เผื่อไว้หลายๆ รูปแบบ

ไฟป่าบนภูเขาคาร์เมล ทางตอนเหนือของอิสราเอล พ.ศ. 2553 ไฟป่าบนภูเขาคาร์เมล ทางตอนเหนือของอิสราเอล พ.ศ. 2553

ไฟป่าแถบเทือกเขาบลู เมาน์เทนส์ 21 ตุลาคม 2556 ไฟป่าแถบเทือกเขาบลู เมาน์เทนส์ 21 ตุลาคม 2556

ไฟป่าที่รัฐโคโลราโด สหรัฐอเมริกา 13 มิถุนายน 2556 ไฟป่าที่รัฐโคโลราโด สหรัฐอเมริกา 13 มิถุนายน 2556

ไฟป่าที่ อ.สวนผึ้ง 2 มีนาคม 2555 ไฟป่าที่ อ.สวนผึ้ง 2 มีนาคม 2555

ไฟป่าในรัฐแคลิฟอร์เนีย อเมริกา 23 ตุลาคม ไฟป่าในรัฐแคลิฟอร์เนีย อเมริกา 23 ตุลาคม

ไฟป่าที่นครลอสแองเจลิส รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา 25 มิถุนายน 2555 ไฟป่าที่นครลอสแองเจลิส รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา 25 มิถุนายน 2555

ไฟป่าในรัสเซีย พ.ศ. 2553

นาย พีรฉัตร นวชาติกุล ม. 4/5 เลขที่ 1 น. ส. ชญาดา อยู่โอน ม นาย พีรฉัตร นวชาติกุล ม.4/5 เลขที่ 1 น.ส. ชญาดา อยู่โอน ม.4/5 เลขที่ 34 น.ส.ธมนวรรณ สมใจ ม.4/5 เลขที่ 35 น.ส. นิธินารถ นิพิฐวิทยา ม.4/5 เลขที่ 36 น.ส. เกวลี เวียงนนท์ ม.4/5 เลขที่ 40