นายกสภา มหาวิทยาลัยมหิดล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
Advertisements

มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
กลไกชาติสร้างเด็กไทยก้าวทันโลกยุคใหม่
การพัฒนาครูพลศึกษาในประเทศไทย
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ สวัสดี ผมชื่อเฟยเฟย 你好!我是飞飞。
ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช
ผลิตสินค้าและบริการ.
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
ภาพรวมของหน่วยจัดการเรียนรู้
นโยบายการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
ทักษะและเทคนิคการสอน Teaching Skills and Techniques
บทที่ 1 การวิจัยกับการ พัฒนางานของครู
รศ.ดร.เทียมจันทร์ พานิชย์ผลินไชย
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
เป้าหมายของหลักสูตร/ การเรียนการสอน วิทยาศาสตร์
มนุษย์จะได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ ก็เพราะการรู้จักเลือกประกอบกิจกรรมนันทนาการ สรุปเนื้อหาสาระจาก นันทนาการและการจัดการ พีระพงศ์ บุญศิริ
ชุมนุม YC.
ชุมนุม YC.
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
การจัดการเรียนรู้โดยใช้กรณีศึกษา (Case Study Method)
เพื่อคุณภาพของเด็กและเยาวชน
ประเทศไทยกับการเตรียมความพร้อมของเด็กในยุคสื่อใหม่ในศตวรรษที่ ๒๑
มาตรฐานวิชาชีพครู.
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าทางการศึกษา
ความหมายและความสำคัญ ในการนำ ICT มาใช้ในการเรียนรู้
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
สถานี รู้เรา รู้เขา. ๑ เรียนรู้สถานการณ์ ปัญหาอนามัย การเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น ๒ แนวทางอนามัยการ เจริญพันธุ์ใน วัยรุ่น ๓ ความรู้และทักษะที่วัยรุ่น ความ.
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
กลุ่มสัมมนาผู้ปฏิบัติงาน โครงการ “ ทำดี มีอาชีพ ” กลุ่มที่ ๖ โครงการ “ ทำดี มีอาชีพ ” กับการแก้ปัญหาด้าน ความมั่นคง.
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
รายงานการฝึกอบรมโครงการ “ผู้นำเยาวชนคนพิการ พลิกฟื้นชุมชน สู่การพัฒนา”
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
โครงการ ส่งเสริมการหารายได้ระหว่างเรียน
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
การปลูกพืชผักสวนครัว
การนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
วิธีการฝึกอบรม ลูกเสือสามัญ
การอ่านเชิงวิเคราะห์
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
โภชนบัญญัติ สู่การปฏิบัติเพื่อโภชนาการที่ดี
เติม STEM ให้เต็ม STEAM
โรงเรียนปัญญาวรคุณ Panyaworakun school
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
บทบาทสมมติ (Role Playing)
กลยุทธ์และกระบวนการสร้างการเรียนรู้
สมาคมโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย
อาจารย์สันติ อภัยราช อาจารย์ ๓ ระดับ ๙ นิติศาสตรบัณฑิต การศึกษาบัณฑิต
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
การขับเคลื่อนวาระแห่งชาติด้าน การสหกรณ์ จังหวัดสุรินทร์ วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมทองธารินทร์
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นายกสภา มหาวิทยาลัยมหิดล หมอวิจารณ์ พานิช นายกสภา มหาวิทยาลัยมหิดล

“.....ในโลกยุคใหม่ ยุคศตวรรษที่ ๒๑ ครูต้องไม่สอน เปลี่ยนไปชวนศิษย์คิด และทดลองทำ เพื่อให้ศิษย์ เรียนรู้จากการลงมือทำ”เป้าหมายที่การเรียนรู้ของ ผู้เรียน ให้เป็นการเรียนรู้ที่สร้างเสริมความงอกงาม ในตนและเกิดทักษะชีวิต รวมทั้งทักษะการคิดอย่าง มีวิจารณญาณ ซึ่งเป็นทักษะเร่งด่วนที่เด็กเยาวชนไทย ทุกคนต้องฝึกฝนให้เกิดขึ้นชุดคำถามเพิ่มเติม ควรเป็นดังนี้

๑.แต่ละแผนการเรียนรู้ ต้องการให้ผู้เรียนได้หรือ เข้าถึงความรู้และทักษะอะไร และเรียนรู้ด้วยวิธีการ อะไร อย่างไร ๒. ในระหว่างและหลัง การเรียนรู้ รู้ได้อย่างไรว่า ผู้เรียนแต่ละคนเรียนรู้อย่างเข้าใจ ๓. เมื่อผู้เรียนเข้าใจแล้ว รู้ได้อย่างไรว่า ผู้เรียนได้คิด ใคร่ครวญตรวจสอบ ประเมนิ ข้อมูล /สารสนเทศ/ ความรู้ ด้วยหลัก เหตุผล สามารถเลือกและสรุปเป็น หลักการและแนวปฏิบัติที่เหมาะสม

๔. รู้ได้อย่างไรว่า ผู้เรียนนำ ความรู้ ความเข้าใจและ แนวปฏิบัติไปประยุกต์ใช้อย่างมีวิจารณญาณ ๕. รู้ได้อย่างไรว่า ผู้เรียนสามารถสื่อสารหลักการ ความรู้ปฏิบัติหรือข้อเท็จจริง เช่น นำเสนอ เผยแพร่ อภิปรายสาธารณะ ชักชวนต่อรอง หรือ รณรงค์การปฏิบัติที่เหมาะสมได้อย่างมี วิจารณญาณ เพื่อแก้ปัญหา ลดความเสี่ยง สร้างสรรค์และเพิ่มคุณภาพชีวิตของตนและ ผู้อื่น

ผู้เรียนมีความแตกต่าง เมื่อครู/อาจารย์รู้จัก ผู้เรียนของตนดีแล้ว ควรร่วมกับฝ่ายบริหารและ เพื่อนครู/อาจารย์ ช่วยกันถาม-ตอบอีก ๒ คำถาม ดังนี้ ๑. รู้ได้อย่างไร และทำ อย่างไร หากผู้เรียนบางคน ไม่ได้เข้าถึงเข้าใจ ประเมินความรู้และทักษะที่ กำหนดไว้ และไม่สามารถนำผลการเรียนรู้ไปใช้ และสื่อสาร

๒. ทำอย่างไรสำหรับผู้เรียนที่ก้าวหน้าไปได้แล้ว หาก คณะครู / คณาจารย์ และ ผู้บริหาร สถานศึกษาใส่ใจและจริง จังกับคำถามทั้ง ๗ ข้อนี้ การยกระดับคุณภาพผู้เรียนและการศึกษาไทย โดยรวมก็น่าจะสูงขึ้น ทันต่อการเปลี่ยนแปลงใน ศตวรรษที่ ๒๑

“..... จะทำ ให้การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในโรงเรียน เชื่อมโยงกับชีวิตจริงได้อย่างไร” “.... เรียนรู้เพื่อสร้างรากฐานชีวิตให้แก่ตนเอง ที่จะทำงานให้สนุก ที่จะสร้างสรรค์สิ่งที่มีคุณค่า ให้แก่บ้านเมือง”โดยให้ครอบครัว สถานศึกษา ตัวเด็กเยาวชนเองและสังคมมีส่วนร่วมแสดง ความรับผิดรับชอบ

(Accountability) ขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงในวิถีการอบรมเลี้ยงดู การส่งเสริมการเรียนรู้ และพัฒนาการตามวัยของ เด็กเยาวชน และยกระดับคุณภาพระบบการศึกษา ไทยอย่างจริงจังให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง ในศตวรรษที่ ๒๑