หลักการจัดองค์การ เป้าหมาย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวางแผนกำหนดกลยุทธ์ทางการตลาด
Advertisements

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการ
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การประสานงาน.
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
ความหมายของการวางแผน
SMART Disclosure Program
วิชา การจัดการข้อมูล (Data Management) 3(2-2-5) บทที่ 3
การบริหารกลุ่มและทีม
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
ระบบการบริหารการตลาด
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
อาจารย์มณทิพา ทับทิมอ่อน
การวางแผนกลยุทธ์.
การจัดองค์การ.
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
การสื่อสารภายในองค์การ Communication in Organization
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
Organization Management
การติดตาม และประเมินโครงการ.
ได้กล่าวว่า ในระดับบุคคลข่าวสารที่ ได้จากระบบ ช่วยทั้งในแง่ ส่วนตัวและวิชาชีพ ในระดับองค์การ การจะมีส่วนช่วยองค์การให้มี ประสิทธิภาพจะมีผลกระทบต่อกล ยุทธ์และความสำเร็จขององค์การ.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารงานขาย
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
นโยบายองค์การ Organisation Policy.
มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ อาจารย์จิตรลดา วัฒนาพรรณกิตติ
จิตวิทยากับองค์กรธุรกิจอุตสาหกรรม
ระบบการผลิต ( Production System )
บทเรียนการเป็นผู้นำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่พ่ายแพ้
บทที่ 4 Organization กำหนดโครงสร้างที่เหมาะสม Org.Chart
Good Corporate Governance
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงาน และการบริหารงานสำนักงาน
หัวข้อวิชา การเพิ่มศักยภาพในการเป็นผู้นำ และการนำเสนอข้อมูล
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
สาเหตุของการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในธุรกิจ
บทที่ 3 Planning.
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์การ
บทนำการบริหารโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ
The Five Bases of Power.
เราเป็นผู้นำ.
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การสั่งการและ การมอบหมายงาน
วิชา หลักการตลาด บทที่ 10 การส่งเสริมการขายโดยใช้บุคคล
โครงสร้างขององค์การ.
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
บทที่ 2 การจัดองค์กรขาย
ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
บทที่ 4 กลยุทธ์การค้าปลีก
บทที่3 ระบบการผลิตและการวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่1 การบริหารการผลิต
ขั้นตอนในการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการบริหารงาน ประเภทสหกรณ์บริการ คณะทำงาน 1. นางอรุณี เมืองกาญจน์ ตำแหน่ง นักวิชาการสหกรณ์ 2. นางรุจิรา ขำพล ตำแหน่ง นักวิชาการสหกรณ์
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
การปฏิบัติการและการประเมินผลการตลาด
และค่าเป้าหมายรายบุคคล
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักการจัดองค์การ เป้าหมาย

สาเหตุที่ต้องมีการจัดองค์การ 1. ปรับปรุง พัฒนาประสิทธิภาพ และ คุณภาพของงานที่ทำ 2. แสดงให้เห็นถึงภาระหน้าที่ 3. ระบบการติดต่อสื่อสารที่ดี

ผลลัพธ์ในการจัดองค์การ แผนภูมิองค์การ ผลลัพธ์ในการจัดองค์การ “เรียงลำดับขั้นจากสูงสุดถึงต่ำสุด”

แผนภูมิองค์การแบบง่าย

องค์การที่เป็นทางการ แผนภูมิองค์การ ความสัมพันธ์ที่เป็นทางการของสมาชิกทั้งหลายในองค์การ องค์การที่เป็นทางการ

ขั้นตอนการจัดองค์การ การกระจายอำนาจหน้าที่ การแบ่งงาน การจัดแผนกงาน การกระจายอำนาจหน้าที่ การประสานงาน

การแบ่งงาน (Division of Work) ตลาด บุคคล บัญชี ผลิต จัดซื้อ

อิสระและเสรีภาพในการวางแผนจัดการกับงานของตนว่ามีมากน้อยเพียงใด ความลึกของงาน (Job Depth) อิสระและเสรีภาพในการวางแผนจัดการกับงานของตนว่ามีมากน้อยเพียงใด ความลึกสูง ท้าทาย รับผิดชอบ ไม่ควบคุม ความลึกต่ำ จำเจ น่าเบื่อ ควบคุม

ขอบข่ายงานกว้างประเภทงานมากชนิด ขอบข่ายของงาน (Job Scope) จำนวนชนิดของงานที่คนงานได้รับมอบหมาย ขอบข่ายงานแคบ ประเภทงานน้อยชนิด ขอบข่ายงานกว้างประเภทงานมากชนิด

(Task Characteristics) ลักษณะของงาน (Task Characteristics) ความชำนาญ (Skill Variety) เอกลักษณ์ของงาน (Task Identity) ความสำคัญของงาน (Task Significance) ความเป็นอิสระในงาน (Autonomy) ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback)

ผลกระทบ ผลทางบวก คนงานขาดงานสูง ต้นทุนต่ำลง มีการเข้าออกงานบ่อย Specialization ผลทางลบ คนงานขาดงานสูง มีการเข้าออกงานบ่อย ประสิทธิภาพของงานต่ำลง ผลทางบวก ต้นทุนต่ำลง คนงานมีความชำนาญสูงขึ้น

การเพิ่มจำนวนของกิจกรรมที่คนงานทำอยู่ให้มีหลากหลายมากขึ้น ขยายงานแนวราบ (Job Enlargement) การเพิ่มจำนวนของกิจกรรมที่คนงานทำอยู่ให้มีหลากหลายมากขึ้น Job Rotation Job Enlargement

ความพยายามที่จะให้คนงานมีอิสระในการทำงานมากขึ้น ขยายงานแนวดิ่ง (Job Enrichment) ความพยายามที่จะให้คนงานมีอิสระในการทำงานมากขึ้น Job Depth

(Departmentalization) การจัดแผนกงาน (Departmentalization) การรวมงานชนิดต่าง ๆ หรือขั้นตอนการทำงานต่าง ๆ ให้เข้าอยู่ในหน่วยงานใหญ่เดียวกัน Organization Chart

(Departmentalization) การจัดแผนกงาน (Departmentalization) จัดตามหน้าที่ จัดตามผลิตภัณฑ์ จัดตามกิจกรรมหรือกระบวนการผลิต จัดตามลักษณะของลูกค้า จัดตามพื้นที่

การจัดแผนกงานตามหน้าที่

การจัดแผนกงานตามผลิตภัณฑ์

การจัดแผนกงานตามกระบวนการผลิต

การจัดแผนกงานตามลักษณะลูกค้า

การจัดแผนกงานตามพื้นที่

การจัดแผนกงานแบบอื่น ๆ การจัดแผนกงานตามเวลา การจัดแผนกงานตามขนาด

การจัดแผนกงานแบบผสมกัน

อำนาจอย่างถูกต้องที่ได้รับมาจากองค์การ อำนาจหน้าที่ อำนาจอย่างถูกต้องที่ได้รับมาจากองค์การ Authority

ความสามารถที่จะกระทำหรือใช้อิทธิพล ความแตกต่าง อำนาจหน้าที่ VS อำนาจ อำนาจ ความสามารถที่จะกระทำหรือใช้อิทธิพล อำนาจหน้าที่ สิทธิที่ถูกต้องที่จะกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง

ทฤษฎีทางด้านการบริหาร แบบดั้งเดิม ยอมรับในอำนาจหน้าที่ สถานการณ์เป็นตัวกำหนด บุคคลที่มีความรู้ความชำนาญ

ผู้จัดการมีอำนาจหน้าที่ ผู้จัดการไม่มีอำนาจหน้าที่ ผู้ใต้บังคับบัญชา โต้แย้งและปฏิเสธ ที่จะปฏิบัติตาม ยอมรับคำสั่ง ของผู้จัดการ ผู้จัดการออกคำสั่ง ผู้จัดการมีอำนาจหน้าที่ ผู้จัดการไม่มีอำนาจหน้าที่ Acceptance Theory บทบัญญัติของบริษัท กฎหมายของรัฐ คนงานทั่วไป ผู้บริหารระดับล่าง ผู้บริหารระดับกลาง ผู้ถือหุ้น ผู้บริหารระดับสูง ประธาน คณะกรรมการบริหาร Classical Theory

ประเภทของอำนาจหน้าที่ 1. Line Authority 2. Staff Authority 3. Functional Authority

Line Authority Functional Authority Staff Authority รับผิดชอบความสำเร็จขององค์การ อยู่ใน Chain of Command Functional Authority ช่วย Line และ Staff บังคับบัญชานอกสายงานได้ Staff Authority ช่วยเหลือหน่วยงานที่ เป็น Line อยู่นอก Chain of Command

กระบวนการมอบหมายอำนาจหน้าที่ กำหนดความรับผิดชอบ มอบหมายอำนาจหน้าที่ “หลักความเสมอภาค” ทำให้ผู้บังคับบัญชารู้ถึงภาระหน้าที่ “Accountability”

การรวมอำนาจ การกระจายอำนาจ - อำนาจอยู่ที่ผู้บริหารระดับสูง - พนักงานขาดขวัญกำลังใจ - พนักงานไม่กล้าตัดสินใจ การกระจายอำนาจ - ให้พนักงานช่วยตัดสินใจ - พนักงานมีขวัญกำลังใจ - งานท้าทาย

รวมอำนาจหรือกระจายอำนาจขึ้นอยู่กับ ขนาดองค์การ เทคโนโลยี สภาพแวดล้อม ขอบเขตภูมิประเทศ

ความสอดคล้องของกิจกรรม จุดมุ่งหมายร่วมอันเดียวกัน การประสานงาน Coordination ความพยายามของกลุ่ม ความสอดคล้องของกิจกรรม จุดมุ่งหมายร่วมอันเดียวกัน

เอกภาพในการบังคับบัญชา การมีผู้บังคับบัญชาคนเดียว Unity of Command การมีผู้บังคับบัญชาคนเดียว

สายการบังคับบัญชา อำนาจหน้าที่ จะเริ่มต้นที่ระดับบนแล้วลดหลั่นลงมาเรื่อยจนถึงระดับล่างเหมือนสายโซ่ร้อยติดกัน โดยไม่ขาด Chain of Command

จำนวนของผู้ใต้บังคับบัญชาที่ผู้บังคับบัญชา แต่ละคนต้องควบคุมดูแล ขนาดของการควบคุม จำนวนของผู้ใต้บังคับบัญชาที่ผู้บังคับบัญชา แต่ละคนต้องควบคุมดูแล ขนาดควบคุมแคบ ขนาดควบคุมกว้าง Tall Organization Flat Organization Span of Control

องค์การที่มีโครงสร้างแบบสูง ประธาน รองประธาน ผู้จัดการ

องค์การที่มีโครงสร้างแบบแบนราบ ประธาน รองประธาน

สายการบังคับบัญชา A C B F D G E H I Gangplank

ขนาดของผู้ใต้บังคับบัญชา Sir Ian Hamilton Lyndall Urwick ขนาดของผู้ใต้บังคับบัญชา 3-6 คน

V.G. Graicunas R = n(2n-1 + n-1)

V.G. Graicunas ข้อดี ช่วยให้รู้ความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้น ข้อเสีย ไม่ได้บอกขนาดของการควบคุมที่ดีที่สุดควรจะเป็นกี่คน

V.G. Graicunas ปัจจัยอื่น ๆ ที่ต้องนำมาพิจารณา 1. ปัจจัยที่เกี่ยวกับกิจกรรมที่ต้องควบคุมดูแล 2. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับผู้บังคับบัญชา 3. ปัจจัยที่เกี่ยวกับผู้ใต้บังคับบัญชา