ระบบประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาอาชีวศึกษา สังกัด สอศ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
“ศกร.กศน.ในต่างประเทศที่มีคุณภาพ ”
Advertisements

การประกันคุณภาพภายนอก
KKU Duel อาจารย์ที่ปรึกษา อ.วิชชา เฟื่องจันทร์ จัดทำโดย
1 กลุ่ม 2+1.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การพัฒนาโครงการ.
ชื่อตัวบ่งชี้ : 6.1 ร้อยละของหลักสูตรที่ได้ มาตรฐานต่อหลักสูตรทั้งหมด 1. จุดอ่อน 1. ยังมีเนื้อหาของบางรายวิชาในแต่ละหลักสูตร เกิดความซ้ำซ้อน 2. การจัดลำดับความสำคัญของรายวิชาในแต่ละ.
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
หลักการพัฒนา หลักสูตร
Being Weather Twin By สรธิญ ชลารักษ์.
นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยพายัพ
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพการศึกษา
มารู้จักสหกรณ์กันเถอะ
การประเมินคุณภาพภายในกอง แผนงาน ประจำปีการศึกษา 2551 วันที่ 20 กรกฎาคม 2552 โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน.
จำนวนเฉพาะ. จำนวนเฉพาะ ความหมาย 3 จำนวนเฉพาะ หมายถึง จำนวนนับที่มากกว่า 1 และมีตัวประกอบเพียงสองตัว คือ 1 และตัวมันเอง 4.
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียน จัดทำโดย นายพิสณุ ฟองศรี หลักสูตรปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต.
เรื่อง การวางแผนประเมินโครงการ
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
Self-Assessment Report
ข้อสังเกตและข้อควรปฏิบัติ ในการตรวจประเมินคุณภาพสถานศึกษา
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
PMQA Organization คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด6 12คำถาม.
ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
2 มิถุนายน อ. ศมณพร สุทธิบาก ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายประกันคุณภาพและบริหารความเสี่ยง คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์
การจัดทำ BARCHART.
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
การบรรยายความรู้เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา
คุณครูพรพิมล ตันติวรธรรม โรงเรียนบ้านวังไผ่ สพท.กาญจนบุรี เขต 2
การประกันคุณภาพ (Quality Assurance : QA)
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
รายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2)
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้
มาตรฐานตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก
คำนึง อุยตระกูล กศน.อำเภอบ้านไผ่
ทักษะการจัดการทรัพยากรมนุษย์
วิชาโครงการ (Project)
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
เวชศาสตร์ชุมชนและเวชศาสตร์ครอบครัว

รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2
การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล
ศึกษาการสอนแบบการฟังและพูดของครูกับนักศึกษา
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
อบรมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
การนำเสนอผลงานวิจัย ชื่อเรื่อง : สมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. แผนก การบัญชี ตามความคิดเห็นของหัวหน้าแผนกบัญชี ในเขตพื้นที่
“ การแลกเปลี่ยน บุคลากร ” ทางเลือกของการจัดการความรู้ใน สถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษา กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูกับ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรีบริหารธุรกิจ.
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การแก้ปัญหานักเรียนขาดการกระตือรือร้นในการเรียนภาคปฏิบัติ วิชางานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้นของนักเรียนชั้น ปวช.1/1 ช่างยนต์ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการใช้เวอร์เนียร์ไฮเกจ ร่างแบบชิ้นงานโดยใช้ชุดฝึกทักษะ วิชางานฝึกฝีมือ ของนักเรียนช่างไฟฟ้า สาขางานไฟฟ้ากำลัง ชั้นปีที่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาอาชีวศึกษา สังกัด สอศ. ผ่องศรี แก้วชูเสน วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีตรัง

องค์ประกอบของวงจรคุณภาพ มาตรฐาน ข้อกำหนด ตัวบ่งชี้ เกณฑ์

มาตรฐาน คุณลักษณะหรือระดับ ที่ถือเป็นคุณภาพ ความสำเร็จ หรือความเหมาะสม อันเป็นที่ยอมรับกันทางวิชาชีพทั่วไป เช่น มาตรฐาน การจัดการศึกษาอาชีวศึกษา คือ ผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษาวิชาชีพ

ข้อกำหนด คำอธิบายเกี่ยวกับคุณลักษณะตามมาตรฐาน เช่น ข้อกำหนดของมาตรฐานด้านผู้เรียนและผู้สำเร็จ การศึกษา คือ ความรู้และทักษะวิชาชีพตามหลักสูตรที่เหมาะสมกับเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีที่เปลี่ยนไป

ตัวบ่งชี้ หมายถึง ตัวประกอบ ตัวแปรหรือค่าที่สามารถวัดได้ สังเกตได้ ซึ่งใช้บ่งบอกสถานภาพหรือสะท้อนลักษณะ การดำเนินงานหรือผลการดำเนินงาน เช่น ร้อยละของผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ ตามเกณฑ์การเรียนที่กำหนด

เกณฑ์ หมายถึง ระดับหรือมาตรฐานที่ถือว่าเป็นความสำเร็จของการดำเนินงานหรือผลการดำเนินงาน เช่น ผู้เรียน มากกว่าร้อยละ 80 มีผลสัมฤทธิ์ตามเกณฑ์การเรียนที่กำหนด

คุณภาพการจัดการศึกษาอาชีวศึกษา มาตรฐาน ผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษาวิชาชีพ ข้อกำหนด ความรู้และทักษะวิชาชีพตามหลักสูตรที่เหมาะสมกับเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีที่เปลี่ยนไป ตัวบ่งชี้ ร้อยละของผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ตามเกณฑ์ การเรียนที่กำหนด เกณฑ์ ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 80 มีผลสัมฤทธิ์ตามเกณฑ์การเรียนที่กำหนด

มาตรฐานที่ 1 เพิ่ม 3 ตัวบ่งชี้ ราย การ ตัวบ่งชี้ เก่า 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ใหม่ 10 11 12 เพิ่ม 3 ตัวบ่งชี้

มาตรฐานที่ 2 เพิ่ม 5 ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ เก่า 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 ใหม่ 22 23 24 25 26 27 28 29 เพิ่ม 5 ตัวบ่งชี้

มาตรฐานที่ 3 ตัวบ่งชี้ เก่า 22 23 24 25 26 ใหม่ 30 31 32 33 34

มาตรฐานที่ 4 ตัวบ่งชี้ เก่า 27 28 ใหม่ 35 36

มาตรฐานที่ 5 เพิ่ม 1 ตัวบ่งชี้ เก่า 29 30 31 ใหม่ 37 38 39 40 เพิ่ม 1 ตัวบ่งชี้

มาตรฐานที่ 6 ตัวบ่งชี้ เก่า 32 33 34 ใหม่ 41 42 43

เพิ่ม 1 มาตรฐาน 2 ตัวบ่งชี้ มาตรฐานที่ 7 ตัวบ่งชี้ เก่า ใหม่ 44 45 เพิ่ม 1 มาตรฐาน 2 ตัวบ่งชี้

การดำเนินงานคุณภาพ การควบคุมคุณภาพ การติดตามตรวจสอบคุณภาพ การประเมินคุณภาพ

การดำเนินงานคุณภาพ จัดทำแผนพัฒนาสถานศึกษา จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี(สนองตัวบ่งชี้) จัดทำแผนปฏิบัติงานคุณภาพประจำปี - ระดับสถานศึกษา (ประกันทั้งหมด) - ระดับแผนกวิชา (ประกันสาขาวิชา)

การดำเนินงานคุณภาพ จัดทำคู่มือการประกันคุณภาพ ดำเนินงานตามแผนฯ จัดทำรายงานการประเมินตนเอง SAR สถานศึกษา SSR แผนกวิชา

ระบบประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาอาชีวศึกษา กลไกประกันคุณภาพระดับสาขาวิชา - การทบทวนการดำเนินงานที่ผ่านมา (ผ่านผลการประเมินตนเอง/การประเมินภายในโดยต้นสังกัด/การประเมินภายนอก สมศ.) - การพัฒนางานตามตัวบ่งชี้/กำหนดแผนพัฒนาสถานศึกษา เร่งด่วน ปานกลาง ระยะยาว โดยนำมาตรฐานที่ผ่านการพิจารณาร่วมกันว่าต้องมีการพัฒนาเป็นลำดับ - จัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปีที่จะทำให้บรรลุผลตามตัวบ่งชี้ - การติดตามตรวจสอบและปรับปรุงการดำเนินงานการดำเนินงาน - การประเมินการดำเนินงานที่ตอบสนองตัวบ่งชี้ SSR ระดับแผนกวิชา SAR ระดับสถานศึกษา

นิทานเรื่อง.......... ตีน กับ ตา

ตีนซิแน่... จะนั่งลุก ยืนเดิน เพลินหนักหนา ตีนกับตา อยู่กันมา แสนผาสุก จะนั่งลุก ยืนเดิน เพลินหนักหนา มาวันหนึ่ง ตีนทะลึ่ง เอ่ยปรัชญา ว่ามีคุณ แก่ตา เสียจริงจริง ตีนช่วยพา ตาไป ที่ต่างต่าง ตาจึงได้ ชมนาง และสรรพสิ่ง เพราะฉะนั้น ดวงตา จงประวิง ว่าตีนนี้ เป็นสิ่ง ควรบูชา

...ตาซิแน่ จึงร้องบอก ออกไป ด้วยโทสา ว่าที่ตีน เดินเหินได้ ก็เพราะตา ตาได้ฟัง ตีนคุยโม้ ก็หมั่นไส้ จึงร้องบอก ออกไป ด้วยโทสา ว่าที่ตีน เดินเหินได้ ก็เพราะตา ดูมรรคา เศษแก้วหนาม ไม่ตำตีน เพราะฉะนั้น ตาจึง สำคัญกว่า ตีนไม่ควร จะมา คิดดูหมิ่น สรุปว่า ตามีค่า สูงกว่าตีน ทั่วธานินทร์ ตีนไปได้ ก็เพราะตา

ตีนได้ฟัง ให้คลั่งแค้น แสนจะโกรธ …แต่ก็ตาย... ตีนได้ฟัง ให้คลั่งแค้น แสนจะโกรธ เร่งกระโดด ออกไป ใกล้หน้าผา เพราะอวดดี คุยเบ่ง เก่งกว่าตา ดวงชีวา จะดับไป ไม่รู้เลย ตาเห็นตีน ทำเก่ง เร่งกระโดด ก็พิโรธ เร่งระงับ หลับตาเฉย ตีนพาตา ถลำล้ม ทั้งก้มเงย ตกผาเลย ตายห่า ทั้งตาตีน

สวัสดี