รายงานประเมินผลความพึงพอใจ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การวางแผนพัฒนาระบบสำนักงาน
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
Research Problem ปัญหาการวิจัย
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การเริ่มต้นและการวางแผนโครงการ
กลุ่มที่ 1 การส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์ข้อ 1
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
ดร. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารงานขาย
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
การบำรุงรักษาทรัพยากรมนุษย์
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ความรู้เบื้องต้นในการวินิจฉัยธุรกิจ
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
การศึกษาความเป็นไปได้ (Problem Definition and Feasibility Study)
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
ประเด็นสำคัญในการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต เขต 8 นครสวรรค์ นครสวรรค์ กำแพงเพชร อุทัยธานี
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
คือ ระบบบัญชีคอมพิวเตอร์
การบริหารและกระบวนการวางแผน
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 1 ผู้ส่งสาร
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
วิชา หลักการตลาด บทที่ 10 การส่งเสริมการขายโดยใช้บุคคล
โครงสร้างขององค์การ.
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี
ปริมาณสำรองปิโตรเลียม
กลุ่มที่ 4.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
การนำเสนอ หัวข้อ “ตอบโจทย์อุตสาหกรรมด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม มุ่งสู่ตลาดโลก” วันศุกร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ 2556 ณ ห้องแกรนด์บอลรูม โรงแรมรามาการ์เด้นส์
บทบาทของข้อมูลการตลาด
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
ความร่วมมือไทย-ลาว ในเรื่อง Contract Farming (CF)
หลักการเขียนโครงการ.
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
ทางการวิจัยและพัฒนาของประเทศไทย
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงานประเมินผลความพึงพอใจ โครงการนำร่องสิทธิประโยชน์ทางภาษีฯ โดย ผศ.ดร. สุภาวดี มิตรสมหวัง (ผู้จัดการโครงการ)

agenda ผลประเมินความพึงพอใจจากข้อมูลจากสถานประกอบการ SWOT แนวทางในการดำเนินโครงการในอนาคต

ข้อมูลจาก สถานประกอบการ ประกอบด้วยข้อมูล 2 ส่วน ข้อมูลจากวิศวกรและผู้ประสานงานโครงการ ข้อมูลจากผู้บริหารสถานประกอบการ จากกลุ่มตัวอย่าง 58 สถานประกอบการ

การประเมินผลความพึงพอใจของวิศวกร และผู้ประสานงานโครงการ การประเมินผลความพึงพอใจของวิศวกร และผู้ประสานงานโครงการ

แสดงข้อมูลมาตรการที่ทำการลงทุนเพื่อสิทธิประโยชน์ทางภาษี 14.0% มาตรการติดตั้ง Inverter 11.6% เปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดไฟ เช่น หลอดไป บัลลาสต์ เป็นต้น 11.6% ติดตั้ง VSD เพื่อลดรอบความเร็วมอเตอร์ 53.5%, อื่นๆ เช่น ลดการประจุไฟฟ้า ติดตั้ง Economizer เพื่อนำความร้อนที่ปล่อยทิ้งมาใช้อีก ปรับปรุงแสงสว่าง เป็นต้น 4.7% เปลี่ยน Chiller 4.7% มาตรการประหยัดพลังงานที่ระบบปรับอากาศ

ข้อมูลการได้รับข้อมูลคำอธิบายจากศูนย์ประสานงานโครงการฯ เมื่อได้ส่งใบสมัครเพียงพอต่อการตัดสินใจ

ความเห็นต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ประจำ ศูนย์ประสานงานโครงการ ข้อความ ระดับความเห็น 1. มีความเข้าในหลักการการให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีแก่โรงงาน/อาคารดี ดี 2. มีความตั้งใจในการให้คำอธิบายวิธีการสมัครและขอข้อมูลเพิ่มเติม 3. ติดตามและประเมินผลการทำงานของโรงงาน/อาคารอย่างสม่ำเสมอ 4. มีความพยายามในการแสวงหาวิธีการแก้ปัญหาให้กับโรงงาน /อาคาร 5. บุคลากรมีความพร้อมในการให้คำแนะนำ ดีมาก 6. บุคลากรมีความเต็มใจในการค้นหาคำอธิบายเพิ่มเติมเมื่อท่านขอความร่วมมือ 7. มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการตรวจสอบติดตามงานที่รวดเร็ว 8. เป็นสื่อกลางในการประสานงานกับ Auditor ดี 9. มีการรายงานความก้าวหน้าของโครงการให้ทราบสม่ำเสมอ 10. มีความเป็นกัลยาณมิตรในการทำงานร่วมกัน ผลการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ประจำศูนย์ประสานงานโครงการโดยรวม

ความเห็นต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ประจำศูนย์ประสานงาน

สิ่งที่เจ้าหน้าที่ประจำศูนย์ฯ ต้องปรับปรุง 14% ต้องการข้อมูลที่ถูกต้องและแน่นอนในการคำนวณผลประหยัด 14% ควร update ข้อมูลใน Internet ตลอดเวลาให้ทันสมัยอยู่เสมอ 14% ขาดการติดตามงานและการประสานงานกับโรงงาน 14% ชี้แจงรายละเอียดให้ครอบคลุมทั้งหมดของโครงการ 14% ให้รายละเอียดการติดต่อกับศูนย์ฯ ให้มากกว่านี้ 30% ต้องการให้ศูนย์ทำงานเชิงรุก ส่งข้อมูลต่างๆ ให้โรงงาน

ระยะเวลาที่รอการติดต่อจากผู้ตรวจผลการวัด จำนวนวัน รวม จำนวน % ภายใน 1 สัปดาห์ 18 31.0 1 - 2 สัปดาห์ 4 6.9 2 - 3 สัปดาห์ 2 3.4 3 - 4 สัปดาห์ 11 19.0 4 สัปดาห์ ขึ้นไป ไม่ตอบ 21 36.2 58 100.0

การเข้าโรงงานของ Auditor 10.4% มาครบทุกขั้นตอน ไม่เป็นไปตามกำหนดเวลา 4.2% มาไม่ครบทุกขั้นตอน แต่เป็นไปตามกำหนดเวลา 85.4% มาครบทุกขั้นตอน ตามกำหนดเวลา

ความถี่การเข้าให้คำปรึกษาของ Auditor หลังจากติดตั้งมาตรการ 4.1% ใช้โทรศัพท์ติดต่อกัน 10.2% สัปดาห์ละครั้ง 12.2% ไม่เคยมาเลย 14.3% 2 สัปดาห์ครั้ง 12.2% 2 เดือนครั้ง 44.9% เดือนละครั้ง

ความเห็นต่อการปฏิบัติหน้าที่ของ Auditor ข้อความ ความเห็น 1. มีความรู้ในมาตรการที่โรงงาน/อาคารเลือก ดี 2. มีความเข้าในหลักการการให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีแก่โรงงาน/อาคารดี 3. มีตั้งใจในการให้คำอธิบายวิธีการตรวจวัดที่จะใช้ในการทำ Baseline และ Post-Audit 4. มีความสม่ำเสมอในการเข้ามาให้คำปรึกษาแนะนำ ปานกลาง 5. มีการติดตามและประเมินผลการทำงานของโรงงาน/อาคารอย่างสม่ำเสมอ 6. มีความพยายามในการแสวงหาวิธีการแก้ปัญหาให้กับโรงงาน /อาคาร 7. บุคลากรมีความรู้ในเรื่องการตรวจวัดดี สามารถทำการตรวจวัดได้ถูกต้อง 8. มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการตรวจสอบติดตามงานที่สมบูรณ์ 9. เป็นสื่อกลางในการประสานงานกับหน่วยงานที่ให้การสนับสนุนทุนดี 10. มีการรายงานความก้าวหน้าของโครงการให้ทราบสม่ำเสมอ 11. มีการสนับสนุนข้อมูลเพิ่มเติม เมื่อท่านร้องขอ 12. มีความเป็นกัลยาณมิตรในการทำงานร่วมกัน ผลการปฏิบัติงานโดยรวมของ Auditor

ข้อมูลประเมินผลการทำงานของ Auditor ที่เข้ามาทำการรับรองผลการตรวจวัด 8.6% ต้องปรับปรุง 20.7% ดีมาก 17.2% ปานกลาง 53.4% ดี

สิ่งที่ Auditor ต้องปรับปรุง 1. ปรับเวลาในการตรวจวัดให้มากขึ้น 2. Auditor ยังไม่มีการติดตามผลอย่างต่อเนื่อง 3. โรงงานยังไม่เข้าใจขั้นตอนการทำงาน 4. อยากให้แนะนำมาตรการประหยัดพลังงานที่ โรงงานสามารถดำเนินการได้เอง 5. การติดต่อประสานงานระหว่างภาครัฐกับโรงงาน 6. การให้ข้อมูลเบื้องต้นนับจากวันที่ได้รับเอกสาร การยื่นขอสิทธิทางภาษี 7. อยากให้ Auditor สนับสนุนเรื่องข้อมูลการตรวจวัด

ความเห็นต่อการให้การสนับสนุน สถานประกอบการ ในรูปแบบของสิทธิประโยชน์ทางภาษีของรัฐ 3.6% ไม่ควร 96.4% ควร

ความเห็นต่อการให้การสนับสนุน สถานประกอบการ ในรูปแบบของสิทธิประโยชน์ทางภาษีของรัฐ 1. สร้างแรงจูงใจให้กับเอกชนและผู้ประกอบการ ในการประหยัดพลังงาน 2. เป็นประโยชน์โดยตรงกับบริษัท 3. เป็นการกระตุ้นให้เกิดมาตรการประหยัดพลังงาน 4. เพื่อจะได้สนับสนุนผู้สมัครใจในการลงทุนเพื่อการ ประหยัดพลังงาน 5. เพื่อช่วยชาติประหยัดพลังงาน

ความตระหนักต่อการอนุรักษ์พลังงาน 1. การประหยัดพลังงานเป็นสิ่งจำเป็นเพราะทำให้ประหยัดการนำเข้าพลังงานจาก ต่างประเทศ เห็นด้วยอย่างยิ่ง 2. การใช้พลังงานควรเป็นเรื่องของกลไกทางการตลาด ไม่แน่ใจ 3. การส่งเสริมให้คนในองค์กรเกิดความรู้และเห็นประโยชน์จากการใช้พลังงาน อย่างฉลาด ช่วยลดต้นทุนในการผลิตขององค์กรได้อย่างหนึ่ง 4. การผลิตในโรงงานอุตสาหกรม ต้นทุนด้านพลังงานเป็นสัดส่วนเล็กน้อย ไม่คุ้มการลงทุน เห็นด้วย 5. การประหยัดพลังงานเป็นการช่วยส่งเสริมให้ประเทศไทยมีทรัพยากร เพื่อใช้บริโภคและอุปโภคนานขึ้น 6. การทำธุรกิจต้องใช้ทรัพยากรที่มีอยู่เพื่อเพิ่มผลกำไรให้มากขึ้นเต็มที่ โดยไม่คำนึงถึงผลกระทบต่อสังคม

ความตระหนักต่อการอนุรักษ์พลังงาน 7. การตั้งเจ้าหน้าที่กำกับดูแลการใช้พลังงานภายในโรงงาน/อาคาร ควรเป็นสิ่งที่องค์กรให้ความสำคัญ เห็นด้วย 8. การตั้งเจ้าหน้าที่กำกับดูแลการใช้พลังงานภายในโรงงาน/อาคาร ทำให้ต้องเพิ่มภาระงานและค่าตอบแทน เป็นการสร้างรายจ่ายให้กับโรงงาน 9. ควรมีการกระตุ้นให้โรงงาน/อาคารเข้าร่วมโครงการให้ครอบคลุมทุกอุตสาหกรรม 10. ผลของการทดลองโครงการยังไม่ชัดเจนเป็นรูปธรรม ควรชะลอการขยายผล 11. โรงงาน/อาคาร ควรสร้างพันธมิตรทางการค้า เพื่อลดการผลิตที่ซ้ำซ้อน ไม่แน่ใจ 12. การสร้างเครือข่ายอาจมีผลต่อการแข่งขันในตลาดในภาพรวม

หาก พพ. ต้องการขยายผลโครงการ คิดว่าจะเข้าร่วมหรือไม่ 5.4% ไม่แน่ใจ 94.6% เข้าร่วม

เหตุผลที่ต้องการเข้าร่วมโครงการฯ 1. เป็นโครงการที่มีประโยชน์ 2. เกิดผลดีกับบริษัทและประเทศชาติ 3. ได้รับความรู้เพิ่มเติมในการอนุรักษ์พลังงานและทำให้ บริษัทสามารถประหยัดพลังงานได้ 4. ทำให้บริษัทสามารถลดค่าใช้จ่ายในเรื่องภาษี 5. เป็นนโยบายของบริษัทที่ดำเนินการในเรื่องนี้อยู่แล้ว 6. เป็นการลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน 7. เป็นการช่วยกันประหยัดพลังงาน 8. เป็นการลดต้นทุนการผลิตและลดค่าใช้จ่ายของบริษัท 9. สิทธิประโยชน์ที่ได้รับจากการขยายผลขอภาษีที่องค์กรได้รับ 10. เป็นการกระตุ้นให้เกิดการอนุรักษ์พลังงาน

เหตุผลที่ไม่แน่ใจว่าจะเข้าร่วมโครงการฯ หรือไม่ 1. เวลาการดำเนินโครงการมีน้อยเกินไป 2. การตัดสินใจอยู่ที่ฝ่ายบริหาร 3. ขั้นตอนการดำเนินโครงการที่มีหลายขั้นตอน

พพ.ควรขยายผลต่อไปในอนาคตหรือไม่ 6.9% ไม่ควร 93.1% ควร

เหตุผลที่ พพ.ควรขยายผลต่อไปในอนาคต 1. เป็นการช่วยประเทศชาติประหยัดพลังงาน 2. ช่วยกระตุ้นให้เกิดการประหยัดพลังงานได้มากขึ้น 3. เกิดผลดีต่อส่วนรวม 4. โรงงานได้รับประโยชน์ 5. ทำให้บริษัทสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายในการลงทุน 6. ทำให้บริษัทได้รับเงินสนับสนุนจาก พพ. 7. เพื่อให้โครงการสามารถดำเนินการได้อย่างต่อเนื่อง และเป็นรูปธรรม 8. ได้ประโยชน์ในเรื่องการเสียภาษี

ปัญหาภายในที่พบจากการเข้าร่วมโครงการและเป็นเหตุ ที่ทำให้ท่านคิดจะขอถอนตัวจากโครงการ ขาดความรู้ความข้าใจ ความล่าช้าของการประเมินผลประหยัด ความไม่พร้อมของโรงงานเกี่ยวกับการตรวจวัด ขาดอุปกรณ์ในการประเมินผลการประหยัด การดำเนินงานล่าช้ากว่าจะผ่านการตรวจสอบทำให้เสียประโยชน์ การดำเนินงานล่าช้า เงินลงทุนในการเปลี่ยนอุปกรณ์การประหยัดพลังงาน การตรวจวัดใช้เวลานาน การจัดซื้ออุปกรณ์และการจับพลังงานไม่ต่อเนื่องหลังการผลิต ลดลง การปรับปรุงอาคารทำให้ไม่สะดวกต่อการดำเนินงาน

ปัญหาภายนอกที่พบจากการเข้าร่วมโครงการและเป็นเหตุ ที่ทำให้ท่านคิดจะขอถอนตัวจากโครงการ การติดต่อประสานงานค่อนข้างล่าช้า และไม่ต่อเนื่อง ปัญหาทางด้านการเมืองและเศรษฐกิจ ปัญหาทางด้านเศรษฐกิจทำให้ไม่มีงบประมาณทางด้านนี้ การประสานงานกับหน่วยงานราชการ ระยะเวลาในการตรวจของคณะกรรมการฯ ล่าช้า มีการเปลี่ยนแปลงบ่อย ขั้นตอนยุ่งยากซับซ้อน การดำเนินการไม่ชัดเจน ในการเพิ่มอุปกรณ์ต่างๆ ทำให้ต้องลงทุนเพิ่มมากขึ้น

โครงการควรดำเนินการอย่างไร เพื่อจูงใจให้ เข้าร่วมโครงการมากขึ้น ควรดำเนินการประชาสัมพันธ์โครงการให้ผู้ประกอบการทราบมากกว่านี้ ให้ที่ปรึกษาเข้ามาช่วยในการดำเนินงานหามาตรการให้มากขึ้น ให้ผลตอบแทนด้านสิทธิประโยชน์เพิ่มมากขึ้น อยากให้ พพ.ขยายเวลาการติดตามผลประหยัด ปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงาน สร้างแรงจูงใจในการเข้าร่วมโครงการ

โครงการควรดำเนินการอย่างไร เพื่อจูงใจให้เข้าร่วมโครงการมากขึ้น ควรลดขั้นตอนและระยะเวลาในการพิจารณาอนุมัติการ ติดตั้งลง เพิ่มระยะเวลาในการดำเนินงาน เชิญผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงานให้ได้รับข้อมูลจาก พพ. ควรมีการส่งผู้เชี่ยวชาญเข้าร่วมหามาตรการกับโรงงาน เงินที่ได้จากการประหยัดให้นำไปหักภาษีเลยจะได้ไม่ต้องเสียซ้ำซ้อนอีก ลดราคาอุปกรณ์ประหยัดพลังงาน สนับสนุนงบประมาณให้โรงงาน เปิดโอกาสให้สถานประกอบการทุกประเภทเข้าร่วมโครงการ เพิ่มสิทธิประโยชน์ด้านอื่นๆ ด้วย

ผลการประเมินความพึงพอใจผู้บริหาร โดย ทีมงานติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน โครงการนำร่องสิทธิประโยชน์ทางภาษี

เหตุผลที่สนับสนุนทีมอนุรักษ์พลังงานเข้าร่วมโครงการฯ ต้องการลดค่าพลังงานต่างๆ /ต้องการประหยัดพลังงาน/ ต้องการลดค่าใช้จ่าย/ต้องการลดต้นทุนการผลิต โรงงานดำเนินการเรื่องนี้อยู่แล้ว เป็นนโยบายของสถานประกอบการ เป็นการพัฒนาบุคลากรของบริษัท มีข้อมูลที่บ่งชี้เรื่องการประหยัดพลังงานที่ชัดเจน บริษัทที่ปรึกษาสามารถช่วยเหลือด้านข้อมูลความรู้ต่างๆ ต้องการให้ผู้บริหารเห็นความสำคัญและให้การสนับสนุน

6.1% ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อผลสำเร็จที่ดี การให้นโยบายเกี่ยวกับการใช้พลังงานในอาคาร/โรงงาน กับ ผชอ./ผชร.ด้านพลังงาน 6.1% ใช้มาตรการประหยัดพลังงานต่างๆ 6.1% ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อผลสำเร็จที่ดี 6.1% ปลูกจิตสำนึกการใช้พลังงาน 81.8% กำหนดเป็นนโยบายประหยัดพลังงาน

ความมั่นใจในมาตรการอนุรักษ์พลังงาน ของผู้บริหาร ที่ทีมอนุรักษ์พลังงานนำเสนอ 39.4% ปานกลาง 60.6% มาก

โครงการฯ จะช่วยลดต้นทุนในการผลิตค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน ในอาคารมากน้อยเพียงใด 9.1% น้อย 36.4% มาก 54.5% ปานกลาง

ความรู้สึกหากผลประหยัดที่ได้น้อยกว่าที่คาดการณ์ไว้โดยวิศวกร 1. มีความพอใจในขั้นตอนการทำงานของโครงการฯ 2. เบื่อหน่ายกับแนวทางการตรวจวัดที่เข้มงวด ใช้ต้นทุนสูง ไม่คุ้มกับ ผลประหยัดที่ได้รับ 3. น่าจะมีการทำการตรวจวัดที่เป็นมาตรฐานไม่ยุ่งยาก 4. ขาดความเชื่อมั่นในผลงานของทีมวิศวกรของโรงงาน/อาคาร 5. ขาดความเชื่อมั่นในผู้จำหน่ายสินค้า ที่นำเสนอผลประหยัดเกินจริง 6. ทางโรงงานมีความมุ่งมั่นที่จะดำเนินโครงการอย่างต่อเนื่อง 7. ขาดศรัทธาในโครงการของ พพ. เพราะไม่ได้แสดงให้เห็นถึงความจริงใจ ในการช่วยโรงงานอุตสาหกรรมปรับปรุงกระบวนการผลิต 8. น่าจะคิดจากเงินสนับสนุนที่ พพ.จ่ายให้ไม่ต้องเกี่ยวพันกับภาษี 9. ยังอยากเข้าร่วมโครงการอีก 10. Auditor เก็บข้อมูลเกินความเป็นจริง

ท่านได้รับประโยชน์โดยตรงจากโครงการนี้คุ้มกับการลงทุน เพราะ 1. ในระยะยาวผลการประหยัดจะคุ้มค่าการลงทุน 2. ได้ผลประหยัดจริงและได้รับความรู้จาก Auditor 3. ได้รับเงินสนับสนุนจาก พพ. 4. ได้รับผลประหยัด ซึ่งเป็นนโยบายของบริษัท 5. การคืนทุนของโครงการเร็ว 6. สามารถลดการใช้พลังงานได้มาก

การสนับสนุนทีมอนุรักษ์ฯ หลังจบโครงการฯ 3% เห็นความสำคัญของการใช้พลังงานและเป็นประโยชน์ 3% เพราะเห็นผลระยะยาว 6.1%เป็นนโยบายบริษัท 9.1% ดำเนินการต่อเนื่อง 78.8% อยากให้มีการทำโครงการต่อเนื่องและเห็นผลชัดเจน

บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการอนุรักษ์พลังงานเพิ่มขึ้นมากน้อยเพียงใด 9.1% น้อย 36.4% มาก 54.5% ปานกลาง

แนวทางที่ พพ.กำหนดในการเข้าร่วมโครงการฯ เป็นขั้นตอนการดำเนินงานที่เหมาะสมหรือไม่ 21.9% ไม่เหมาะสม 78.1% เหมาะสม

เหตุผลที่คิดว่า ขั้นตอนในการให้บริการของ พพ. เหมาะสมแล้ว ง่ายต่อการปฏิบัติ สามารถทำได้ง่าย มีบริษัทที่ปรึกษาเข้ามาแนะนำแนวทางให้โรงงาน สามารถลดต้นทุนได้จริง บริษัทได้ประโยชน์ มีการกำหนดเป้าหมายการดำเนินงานที่ชัดเจน

แนวทางที่ พพ.กำหนดในการเข้าร่วมโครงการฯ เป็นขั้นตอนการดำเนินงานที่ไม่เหมาะสม การตรวจวัดมีความล่าช้า ทีมงานที่ปรึกษายังขาดประสบการณ์ในการดำเนินโครงการ ขั้นตอนในการอนุมัติจากคณะกรรมการน่าจะกระชับกว่านี้ ขั้นตอนในการอนุมัติจากคณะกรรมการยังมีความยุ่งยากซับซ้อน

ข้อเสนอในการปรับปรุงขั้นตอนการทำงานให้ดีขึ้น ควรมีการประชาสัมพันธ์ให้มากกว่านี้ ให้การสนับสนุนในเรื่องเครื่องมือตรวจวัด ต้องส่งผู้เชี่ยวชาญเข้ามาให้คำแนะนำกับบริษัท อยากได้รับเงินสนับสนุนมาช่วยดำเนินมาตรการเพิ่มขึ้น ประชาสัมพันธ์ข้อดีข้อเสียที่โรงงานจะได้รับ โดยชี้แจงให้เห็นผลสำเร็จของโครงการ เลือกทีมงานที่ปรึกษาที่มีความรู้ความสามารถมากกว่านี้

ข้อเสนอในการปรับปรุงขั้นตอนการทำงานให้ดีขึ้น ควรเพิ่มสิทธิประโยชน์ เช่น การลดหย่อนภาษี ควรมีการติดตามผลการดำเนินงานของบริษัท น่าจะให้โรงงานสามารถสมัครเข้าร่วมโครงการได้เลยทันที อยากให้ พพ.ออกเป็นกฎระเบียบ Auditor ต้องมีขั้นตอนการทำงานที่ชัดเจน และต้องมีเวลาให้กับโรงงาน มากกว่านี้ จะต้องมีมาตรการการตรวจวัดที่รัดกุมและมีขั้นตอนไม่ยุ่งยาก พพ.จะต้องส่งข่าวสารของโครงการให้โรงงานทราบ เพื่อให้โรงงานสามารถสมัครเข้าร่วมโครงการได้ดีขึ้น

SWOT

จุดแข็ง SWOT ข้อจำกัด โอกาส จุดอ่อน

SWOT จุดแข็ง องค์ความรู้เกี่ยวกับวิธีการตรวจวัดที่ได้จากการพัฒนาร่วมกันระหว่างAuditor และ ทีมงานจากสถานประกอบการ สิทธิประโยชน์ที่ได้รับจากเงินกองทุนโดยไม่ต้องผ่านสรรพากร ความโปร่งใสของกระบวนการดำเนินการ การพัฒนาศักยภาพของวิศวกรภายในสถานประกอบการ

SWOT จุดอ่อน ทีมงาน Auditor ขาดประสบการณ์ และมีจำนวนน้อยเมื่อเทียบกับจำนวนสถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการ อุปกรณ์ตรวจวัดพลังงานมีราคาแพง สถานประกอบการหลายแห่งยังขาดความพร้อมในการตรวจวัดพลังงานด้วยตนเอง ขั้นตอนการพิจารณาอนุมัติโครงการใช้เวลานานและข้อมูลที่ใช้พิจารณามีความละเอียดมาก

SWOT จุดอ่อน การประชาสัมพันธ์โครงการน้อย ทีมงานบริหารโครงการยังขาดประสบการณ์ ความคลาดเคลื่อนของผลประหยัดที่เกิดขึ้นจริง การคิดผลประหยัดที่อิงกับรอบปีภาษี

SWOT โอกาส สถานการณ์ด้านพลังงานอยู่ในภาวะวิกฤต การผลักดันให้สถานประกอบการจัดทำเป้าหมายและแผน สถานการณ์การแข่งขันทางการค้าที่รุนแรง การสูญเสียสิทธิประโยชน์ทางการค้า ISO 14000

SWOT ข้อจำกัด นโยบายของภาครัฐที่ไม่แน่นอน สถานการณ์ทางการเมือง การขาดความเชื่อมั่นของสรรพากร

เมื่อประมวลผลการเก็บข้อมูลภาคสนาม ประกอบการวิเคราะห์สถานการณ์แวดล้อมของโครงการ ฝ่ายประเมินมีความเห็นว่า สมควรจะดำเนินการโครงการนี้ในอนาคต แต่ต้องดำเนินการปรับปรุงในด้านต่าง ๆ ดังนี้

แนวทางในการดำเนินการในอนาคต

แนวทางในการดำเนินการ ในอนาคต เพิ่มจำนวน Auditor ให้เหมาะสมกับจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ เพิ่มข้อกำหนดด้านความเชี่ยวชาญทางด้านเทคนิคของ Auditor ให้มากขึ้น ให้การสนับสนุนด้านเครื่องมือในการตรวจวัดพลังงานแก่สถานประกอบการ

แนวทางในการดำเนินการ ในอนาคต เพิ่มจำนวนวิศวกรอาวุโสที่มีประสบการณ์ด้านการตรวจวัดประจำโครงการของฝ่ายบริหารโครงการให้มากขึ้น ปรับปรุงขั้นตอนการทำงานของฝ่ายประสานงานให้กระชับ รวดเร็ว และมีความต่อเนื่องมากกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน เพิ่มการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับโครงการ และ แนวทางในการตรวจวัดกับสถานประกอบการให้สม่ำเสมอ ต่อเนื่อง

แนวทางในการดำเนินการ ในอนาคต เพิ่มการติดตามการทำงานของ Auditor ให้มากกว่าเดิม สมควรมี Internal Audit ที่เป็นอิสระ เพื่อสะท้อนการทำงานที่ตรงไปตรงมา ปรับปรุงวิธีการนำเสนอผลการพิจารณาคัดเลือกสถานประกอบการให้กระชับ รวดเร็ว จัดทำฐานข้อมูลการพิสูจน์ผลตรวจวัดเผยแพร่แก่สถานประกอบการใน Website ของ พพ. หรือ Call Center

แนวทางในการดำเนินการ ในอนาคต ประสาน Supplier ให้มีข้อมูลเกี่ยวกับการตรวจวัดสำหรับผลิตภัณฑ์ที่ขายตามที่คณะกรรมการเสนอแนะ ควรกำหนดระยะเวลาในการเข้าร่วมโครงการให้ชัดเจน คือ กำหนดระยะเวลารับสมัคร กำหนดระยะเวลาในการดำเนินโครงการ กำหนดระยะเวลาในการคิดผลประหยัด และประชาสัมพันธ์ระยะเวลาดังกล่าวให้เข้าใจตรงกัน

Q&A

Thank You