บทที่ 2 วัฒนธรรม CULTURE

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักสูตรการศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม พ.ศ.2548
Advertisements

การจัดระเบียบสังคม Social Organization
การกระทำทางสังคม (Social action)
บทที่ 9 อิทธิพลของกลุ่มกับการบริโภค
วัฒนธรรมและภูมิปัญญา มยุรฉัตร ผิวอ่อนดี ร.ร. ดงเจนวิทยาคม จ.พะเยา
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
พระวาจา ทรง ชีวิต เมษายน 2014.
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
เนื้อหา (กลางภาค) พฤติกรรมมนุษย์ การขัดเกลาทางสังคม
พระวาจาทรง ชีวิต กันยายน 2013.
เศรษฐกิจพอเพียง.
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ภูมิปัญญาไทย.
พลเมืองดีตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย
โครงสร้างสังคมไทย โครงสร้างสังคม หมายถึง ความสัมพันธ์ของกลุ่มคนที่มีบรรทัดฐานของสังคมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวให้คนมาอยู่รวมกันเป็นสังคม อย่างสันติสุข.
ชีวิตและวัฒนธรรมไทย
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง
ความหมาย ลักษณะและความสำคัญของวัฒนธรรม
การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม
๒ การจัดระเบียบทางสังคม (Social Organization)
แนวคิด ทฤษฎีและวิธีการศึกษาพื้นฐานใน
การบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน
มนุษย์จะได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ ก็เพราะการรู้จักเลือกประกอบกิจกรรมนันทนาการ สรุปเนื้อหาสาระจาก นันทนาการและการจัดการ พีระพงศ์ บุญศิริ
ภาษาเพื่อการสื่อสารมวลชน
การสื่อสารเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
หน่วยที่ 1 ภาษากับการสื่อสาร.
ภาษาทางสื่อ มิวสิควิดีโอ
ในฐานะสื่อกลางของความคิด
การจัดการศึกษาในชุมชน
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
ภูมิปัญญาทางภาษา มีภูมิปัญญาไทยแฝงตัวอยู่มากมาย ทั้งการดำเนินชีวิต
(Organizational Behaviors)
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
ความเข้าใจมนุษย์ในสังคม
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
บทนำการบริหารโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ
บุคลิกภาพกับการเป็นผู้นำที่มีจิตสำนึก
ความสำคัญของการคิด และการประเมินการคิด
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
บทที่ 2 ความหมายและลักษณะของชุมชน
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การอ่านเพื่อพัฒนาตนเอง
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
เรื่อง การใช้ภาษาในการพูด ผู้สอน ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
จิตวิทยาเพื่อ ชีวิตและการ ทำงาน อาจารย์สุริยัน อ้นทองทิม.
บทที่ 4 เทคโนโลยี.
การศึกษาเจตคติต่อวิชาการเลขานุการ
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
ชิ้นงานที่1 ชื่อ นางสาวจรรยา พุฒเจริญ
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
การพัฒนาตนเอง.
บทที่ 16 ครอบครัว.
การผลิตรายการโทรทัศน์
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
งานชิ้นที่..1 ชื่อ น. ส. สุภาลัย หมายถม กลาง. ความหมายและคุณค่าของการ ทำโครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์มีผลกระทบต่อ ความเจริญก้าวหน้าของทุกๆ.
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ความหมายและคุณค่าของ การทำโครงงาน คอมพิวเตอร์. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มี ผลกระทบต่อความ เจริญก้าวหน้าของทุกๆ สังคมในโลกปัจจุปัน เทคโนโลยีด้านนี้มีการเป.
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 2 วัฒนธรรม CULTURE

ความหมายของวัฒนธรรม ในความหมายของนักสังคมศาสตร์จะหมายถึงระบบความคิด ค่านิยม ความรู้ บรรทัดฐาน และเทคโนโลยี ที่มีอยู่ร่วมกันในสังคม ๆ หนึ่ง วัฒนธรรมจึงมีความแตกต่างกันไปในแต่ละสังคม วัฒนธรรมไม่ได้เกิดขึ้นในตัวเราเองเหมือนการจาม การหายใจ แต่เป็นสิ่งที่เราต้องเรียนรู้จากครอบครัว เพื่อน ชุมชน หนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ ทุก ๆ สิ่งที่เราสัมผัสหรือติดต่อด้วย

ลักษณะพื้นฐานของวัฒนธรรม 1. เป็นความคิดร่วม 2. เป็นสิ่งที่มนุษย์ต้องเรียนรู้ 3. มีพื้นฐานมาจากการใช้สัญลักษณ์ร่วมกัน 4. เป็นองค์รวมของความรู้ และภูมิปัญญา 5. กระบวนการที่มนุษย์กำหนดนิยามความหมายให้กับชีวิตและสิ่งต่าง ๆ 6. เป็นสิ่งที่ไม่หยุดนิ่ง เปลี่ยนแปลงเสมอ 7. Reproductionได่แก่ enculture กับ diffusion

องค์ประกอบของวัฒนธรรม 1. สัญลักษณ์ 2. ภาษา 3. ค่านิยม 4. บรรทัดฐาน 5. เทคโนโลยีและวัฒนธรรมทางวัตถุ

1. สัญลักษณ์ Symbol หมายถึง สิ่งหนึ่งซึ่งนำมาใช้แสดงความหมายแทนอีกสิ่งหนึ่ง ทั้งนี้สัญลักษณ์ไม่จำเป็นต้องมีความคล้ายคลึง หรือมีความสัมพันธ์กับสิ่งที่นำไปแทน เช่น “โดม” “พระเกี้ยว” “บางมด” “หอไอเฟล” ระบบสัญลักษณ์อีกอย่างหนึ่ง คือ (Sign) สัญญานไฟ เขียวแดง ห้องน้ำหญิงชาย คำต่าง ๆ

2. ภาษา ภาษาจะมีลักษณะเด่นกว่าระบบสัญลักษณ์อื่น ๆ เพราะมีความเฉพาะเจาะจงมากกว่า เช่น การใช้คำ “เก้าอี้” “ดอกกุหลาบ” “ปลา” และทำให้เราสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้อื่นได้โดยละเอียด ทั้งในเรื่องรูปธรรมและนามธรรม นักสังคมศาสตร์ถือว่าภาษาเป็นเครื่องมือสำคัญที่ทำให้มนุษย์สามารถสร้างความเจริญก้าวหน้าให้เกิดขึ้น ซึ่งทำให้มนุษย์แตกต่างไปจากสัตว์ ภาษายังมีอิทธิพลต่อการรับรู้และพฤติกรรมของเราด้วย

3. ค่านิยม หมายถึง ความคิดร่วมกันของคนในสังคม อันเกี่ยวกับการให้ความสำคัญและคุณค่ากับสิ่งใด หรือไม่ให้ความสำคัญและคุณค่ากับสิ่งใด ค่านิยม เป็นผลผลิตของสังคม สมาชิกได้มันมาโดยการเรียนรู้จากสังคมของเขา แต่ละสังคมก็จะมีค่านิยมแตกต่างกันออกไปขึ้นกับวิวัฒนาการของสังคมนั้น

4. บรรทัดฐาน 1.วิถีประชา 2.จารีต 3.กฎหมาย เป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม หมายถึง กฎแห่งการกระทำและความคาดหวังของสังคมต่อพฤติกรรม ว่าเราควรปฏิบัติ หรือไม่ควรปฏิบัติอย่างไรในสถานการณ์ต่าง ๆ บรรทัดฐาน แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ 1.วิถีประชา 2.จารีต 3.กฎหมาย

5. เทคโนโลยีและวัฒนธรรมทางวัตถุ หมายถึง การนำวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้เพื่อยกระดับมาตรฐานคุณภาพชีวิต และรูปแบบการดำเนินชีวิต เทคโนโลยีมีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมของมนุษย์มาก ขณะเดียวกันผลผลิตที่เกิดขึ้นจากเทคโนโลยีก็มักจะสะท้อนระบบความคิด ความเชื่อ ค่านิยม และบรรทัดฐานของสังคมด้วย

Relativism มนุษย์ในสังคมโลกประกอบไปด้วยกลุ่มต่าง ๆ แต่ละกลุ่มก็จะมีวัฒนธรรมเฉพาะของกลุ่มตัวเอง ซึ่งเป็นตัวกำหนดคุณค่า ความถูกต้องดีงาม ความจริงของแต่ละสังคม ดังนั้นจึงไม่มีความจริงแท้หรือความดีงามแท้อยู่จริง และเราไม่สามารถเปรียบเทียบได้ว่าวัฒนธรรมของสังคมใดดีกว่าอีกสังคมหนึ่ง