Conclusion HIV /AIDS surveillance seminar on 14-16 Mar 2012
คาดประมาณการติดเชื้อเอชไอวี 2554 ประเทศไทย เฉลี่ยวันละ 27 คน Source: Asian Epidemic Model คาดประมาณไว้เมื่อปี 2005
UN AIDS 2011-2015 strategy “GETTING TO ZERO” To get to Zero New Infections Zero AIDS-related Deaths Zero discrimination
ภาวะผู้นำ และการเป็นเจ้าของ Thai getting To Zero เป้าหมายไม่มีผู้ติดเชื้อรายใหม่ เป้าหมายไม่มีการตายเนื่องจากเอดส์ เป้าหมายไม่มีการตีตราและเลือกปฏิบัติ นวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลง การผสมผสานและบูรณาการให้มาตรการและแผนงานปัจจุบันมีคุณภาพเข้มข้นและมีความยั่งยืน ประชาชนเป็นหลัก : การเสริมสร้างพลังและคุณค่าภายในคน กระบวนทรรศน์ของการทำงาน : การทำงานเอดส์ในมิติใหม่ ก้าวข้ามจากการเป็นโรคและความเจ็บป่วยไปสู่คุณภาพชีวิตที่ดี มุ่งเน้นเป้าหมาย : เน้นเป้าหมายและประสิทธิภาพ ประสิทธิผล โดยการทำงานร่วมกัน ภาวะผู้นำ และการเป็นเจ้าของ ภาคีการทำงาน : การเพิ่มประสิทธิภาพของความสำเร็จ สิทธิมนุษยชน และเพศภาวะ : การทำงานเอดส์ให้ยืนอยู่บนพื้นฐานของการเคารพสิทธิมนุษยชน สิทธิทางเพศ และความเสมอภาคทางเพศ 5
Getting to Zero of New Infections Focus where and who of new infections occur Mode of Transmission 94% of new infections 41% 11% 32% 10% 6% ยุทธศาสตร์ที่เป็นนวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลงข้อแรก เป็นการใช้ข้อมูลและนำมากำหนดพื้นที่ และ กลุ่มประชากรเป้าหมายในการทำงาน สำหรับการติดเชื้อรายใหม่ที่สัดส่วนมากที่สุด ในช่วง ๕ ปีข้างหน้า เป็นกลุ่ม MSM (41%) รองลงมา เป็นการรับและถ่ายทอดเชื้อผ่านคู่ทั่วไป (32%) ในขณะที่การรับและถ่ายทอดเชื้อฯผ่านการมีเพศสัมพันธ์กับพนักงานบริการ (Sex worker) อยู่ที่ 11% คาดว่าในปัจจุบันเป็นจังหวัดที่มีจำนวนผู้ติดเชื้อรายใหม่ประมาณร้อยละ 65 ของจำนวนคาดประมาณผู้ติดเชื้อรายใหม่ทั้งหมด
นครนายก สมุทรปราการ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ตราด ระยอง
เป้าหมาย : ไม่มีผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ เป้าหมาย : ไม่มีผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ลด 2 ใน 3 คาดประมาณจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ AEM, BED-CEIA ร้อยละของประชากรที่ติดเชื้อเอชไอวี HIV sentinel sero-surveillance ,IBBS อัตราการติดเชื้อเมื่อแรกเกิดต่ำกว่าร้อยละ 2 ร้อยละของลูกที่ติดเชื้อเอชไอวีจากแม่ที่ติดเชื้อเอชไอวี PHOMS จากข้อมูลของระบบเฝ้าระวังการติดเชื้อเอชไอวีของสำนักระบาดวิทยา สามารถหาคำตอบ
HIV/AIDS Surveillance system, BOE Passive surveillance Active surveillance Routine Special survey AIDS case report STI HIV prevalence HIV incidence Threshold survey (HIVDR) BSS IBBS SW TLS-MSM RDS-IDU,SW MW
ความก้าวหน้าในการพัฒนาระบบเฝ้าระวัง เอชไอวี/เอดส์ การพัฒนา Information bank & dissemination system พัฒนา Model ทางคณิตศาสตร์ เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์เอดส์ และประเมินผลการดำเนินงานในระดับประเทศ และจังหวัด จัดทำ web site ที่ส่วนกลางเพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าถึงรายงานในทุกระดับ การพัฒนาการตรวจหาอุบัติการณ์การติดเชื้อ HIV รายใหม่ False Recent Rate (FRR) for incidence assay adjustment Avidity assay
ความก้าวหน้าในการพัฒนาระบบเฝ้าระวัง เอชไอวี/เอดส์ การบูรณาการระบบเฝ้าระวังโรคเอดส์โดยการรายงานผู้ป่วยร่วมกับสปสช. การพัฒนาระบบเชื่อมต่อระบบเฝ้าระวังสู่ระบบบริการ ในกลุ่มประชากรเสี่ยง การพัฒนาระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โดยการบูรณาการ
การประมาณการจำนวนประชากรซ่อนเร้น National size estimations methods and process ผศ.นพ.อภินันท์ อร่ามรัตน์ คณะแพทยศาสตร์ / สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Technical working group for national estimation ประกอบด้วยตัวแทนจากหน่วยงานต่างๆดังนี้: ศบจอ. (NAMC) Thailand MoPH – U.S. CDC Collaboration (TUC) East-West Center สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สำนักระบาดวิทยา วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย UNAIDS MEASURE UNFPA ประชุมกัน 6-7 ครั้ง ระหว่างกันยายน – ธันวาคม 2554 เพื่อร่วมกันกำหนดแนวทางการประมาณการที่เหมาะสมที่สุด
Overview of methods used Populations Definitions Estimation methods IDU (all) Injected in the past 2 years Network Scale Up & RDS surveys MSM (all) Men having sex with men in the past year Population Survey FSW & MSW(all) Women and men who sell sex Enumeration (Mapping) with Multiplication Migrants Legal and illegal migrants from Myanmar, Loas and Cambodia Registration statistics and expert adjustment