งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การทำงาน MSM-TG สำคัญอย่างไร มุมมองทั่วไปและด้านระบาด สาธารณสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การทำงาน MSM-TG สำคัญอย่างไร มุมมองทั่วไปและด้านระบาด สาธารณสุข"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การทำงาน MSM-TG สำคัญอย่างไร มุมมองทั่วไปและด้านระบาด สาธารณสุข
นพ ภาสกร อัครเสวี สำนักระบาดวิทยา “Survival “ - win and lose the battle

2 ประเด็นพิจารณา วิถี และ วัฒนธรรมเฉพาะ Culture และ การยอมรับโดยทั่วไป
Epidemiology Public Health and Health Services Political and Social Issue

3 วิถี และ วัฒนธรรมเฉพาะ Culture และ การยอมรับโดยทั่วไป
วัฒนธรรมกลุ่ม การยอมรับ ดีขึ้น การผสมผสานทางสังคม ภาวะการนำ leadership และการสร้างพลังทางสังคม Social Marketing Institutionalize (group, legality, social value etc)

4 Epidemiology High Exposure and High Risk Dynamism Unique
Key Driver ของ สถานการณ์ เอดส์ ต่อไปในยุคนี้ การรับรู้ข่าวสาร ระบาดวิทยา การเห็นความจำเป็นใช้ข้อมูลทางระบาดวิทยา เพื่อการทำงาน and advocacy ความท้าทายการทำงานระบาดวิทยาที่ เข้าถึงยาก ละเอียดอ่อน และมีค่าใช้จ่ายสูง

5 Public Health and Health Services
สุขภาพของ MSM/TG คือ Public Health การเข้าถึง บริการ การเข้าถึงข่าวสาร การ เห็นประโยชน์และอยากใช้ข้อมูลทางระบาดวิทยา การ ปรับลดความเสี่ยง ป้องกัน รักษา การใช้ยาและบริการต่อเนื่อง สิทธิการรักษาพยาบาล การประกันสุขภาพ Health Insurance

6 Political and Social Issue
เป้าหมายทางสังคม และการเมือง ไม่มีแรงผลักทาง สังคม และการเมือง การผสมผสานวัฒนธรรม ร่วมกิจกรรมทางสังคม Local and international movement การเผยแพร่ and social marketing Add Value ทางสังคมและเศรษฐกิจ

7 การเฝ้าระวังการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มประชากรเฉพาะ

8 8 ความชุกการติดเชื้อ HIV ในกลุ่มชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย, (IBBS, ) หมายเหตุ – ***ข้อมูลเฉพาะกลุ่ม MSM ที่ไม่ใช่ TG & Male SW

9 HIV prevalence (%) among MSM’s subgroups, by provinces in 2010 IBBS HIV surveillance
Median (min-max) = 8.0 ( ) % Median (min-max) = 16.7 ( ) % Median (min-max) = 9.5 ( ) % N/A N/A N/A N/A N/A N/A Note – All N/A’s due to N=0, except MSW in Khon Kaen excluded due to small N (=11).

10 % การติดเชื้อเอชไอวีใน MSM* แยกกลุ่มอายุ พื้นที่เชียงใหม่, 2548-53
*MSM ไม่รวม Male Sex Worker และ Transgender

11 % การติดเชื้อเอชไอวีใน MSM* แยกกลุ่มอายุ พื้นที่ภูเก็ต, 2548-53
*MSM ไม่รวม Male Sex Worker และ Transgender

12 % การติดเชื้อเอชไอวีใน MSM* แยกกลุ่มอายุ พื้นที่อุดรธานี, 2548-53
1212 % การติดเชื้อเอชไอวีใน MSM* แยกกลุ่มอายุ พื้นที่อุดรธานี, *MSM ไม่รวม Male Sex Worker และ Transgender

13 % การติดเชื้อเอชไอวีใน MSM* แยกกลุ่มอายุ พื้นที่พัทลุง, 2548-53
*MSM ไม่รวม Male Sex Worker และ Transgender

14 % การติดเชื้อเอชไอวีใน GMSM* แยกกลุ่มอายุ 2553
*GMSM ไม่รวม Male Sex Worker และ Transgender

15 ร้อยละ MSM, MSW, TG ที่ใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธ์ (IBBS กทม. เชียงใหม่ และภูเก็ต)

16 ร้อยละ MSM, MSW, TG ที่เคยตรวจ HIV (IBBS กทม. เชียงใหม่ และภูเก็ต)

17 การใช้อุปกรณ์ใหม่ในการใช้สารเสพติดชนิดฉีดครั้งล่าสุด ระบบเฝ้าระวังเอชไอวีแบบบูรณาการ IBBS, 2553
ผลเบื้องต้น

18 ความชุกของการติดเชื้อเอชไอวีและหนองในเทียม ในแรงงานข้ามชาติ จำแนกรายจังหวัด ในระบบเฝ้าระวังเอชไอวีแบบบูรณาการ IBBS, 2553 ผลเบื้องต้น %

19 ระบบเฝ้าระวังเอชไอวีแบบบูรณาการ IBBS, 2553
ความชุกการติดเชื้อ HIV, หนองในเทียม, และหนองใน ของหญิงพนักงานบริการตรงและแฝง ระบบเฝ้าระวังเอชไอวีแบบบูรณาการ IBBS, 2553

20 การเฝ้าระวังอื่น ๆ การดื้อยาต้านไวรัสในผู้ติดเชื้อรายใหม่กลุ่มพนักงาน บริการ ยังพบอยู่ในระดับต่ำ <5% การเฝ้าระวังการติดเชื้อรายใหม่ด้วยการตรวจเลือด มีการ ปรับขยายพื้นที่และพัฒนาแนวทาง

21 อัตราการติดเชื้อรายใหม่ในกลุ่มชายไทยคัดเลือกเข้าเป็นทหาร กองประจำการ
ปรับ window period from 153 to 127 so new graph wait prove : so show only Male conscripts 2121 อัตราการติดเชื้อรายใหม่ในกลุ่มชายไทยคัดเลือกเข้าเป็นทหาร กองประจำการ การเฝ้าระวังอุบัติการณ์ติดเชื้อรายใหม่ BED-CEIA ชายไทยคัดเลือกเป็นทหารกองประจำการ HIV incidence (% per year) 0.26 ( ) 0.25 ( ) 0.19 ( ) 0.20 ( ) 0.14 ( ) 2548 2549 2550 2551 2552 HIV prevalence 0.5% 0.4% 0.5% 0.5% 0.5% ที่มา: สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ทหารบก และสถาบันพยาธิวิทยา กรมแพทย์ทหารบก สำนักระบาดวิทยา และ TUC

22 สรุป 1 สถานการณ์ความชุกการติดเชื้อเอชไอวีประมาณห้าปีหลัง
มีแนวโน้มคงที่ในกลุ่มทหารเกณฑ์ โลหิตบริจาค มีแนวโน้มลดลงเล็กน้อยในหญิงตั้งครรภ์ กลุ่มประชากรเฉพาะที่มีความชุกการติดเชื้อเอชไอวีสูง และไม่ลดลงคือ ผู้ใช้ยาเสพติดชนิดฉีด และชายที่มี เพศสัมพันธ์กับชาย ความชุกการติดเชื้อเอชไอวีในพนักงานบริการตรงและ แฝง ใกล้เคียงกัน

23 สรุป 2 แนวโน้มพฤติกรรมการมีเพศสัมพันธ์ในกลุ่มประชากร อายุน้อย เพิ่มสูงขึ้น และสัดส่วนการติดเชื้อโรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์ในวัยรุ่นไม่ลดลง การเฝ้าระวังการติดเชื้อรายใหม่ด้วยการตรวจเลือด ใน กลุ่มทหารเกณฑ์แนวโน้มไม่ลดลง ประชากรเฉพาะที่พบการติดเชื้อเอชไอวีสูง เช่น MSM พบ เหมือนกับในหลายประเทศ ต้องการมาตรการป้องกันที่ เข้าถึงประชากรกลุ่มนี้

24 ขอขอบคุณ เครือข่ายเขต จังหวัด พื้นที่เฝ้าระวังทั่วประเทศ และ เครือข่ายองค์กรพัฒนาเอกชน TUC, Global Fund, UNAIDS, etc. นพ.ภาสกร อัครเสวี ผู้อำนวยการสำนักระบาดวิทยา ประชากรในการเฝ้าระวัง


ดาวน์โหลด ppt การทำงาน MSM-TG สำคัญอย่างไร มุมมองทั่วไปและด้านระบาด สาธารณสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google