จดหมายกิจธุระ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระเบียบสารบรรณ สำเนาคู่ฉบับ สำเนา ชั้นความเร็ว ด่วน ด่วนมาก ด่วนที่สุด
Advertisements

หลักการบันทึกข้อความ
กระบวนการจัดส่งรายงานการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
การเขียนบันทึก.
ชนิดของคำในภาษาไทย คำในภาษาไทย มี ๗ ชนิด ได้แก่ คำนาม คำสรรพนาม
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน ๑๐ ข้อ ๒
การสั่งจองหนังสือรวมคำบรรยาย ภาคสอง สมัย ๖๖
การบันทึกทางธุรกิจ memorandom
ขัดคำสั่งผู้บังคับบัญชา
ยินดีต้อนรับสู่กิจกรรม
เทคนิคการเขียน หนังสือราชการ
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับ
ข้อบกพร่องที่พบในรายงาน โดย รศ.ดร.สุชาดา บวรกิติวงศ์
บทที่ 1 การเลือกรูปแบบและวิธีการเขียนจดหมาย
ตัวเลขไทย.
ข้อบังคับทหาร ว่าด้วยการเคารพ ตอน ๑ ว่าด้วยการเคารพบนรถ
รูปแบบและการพิมพ์หนังสือราชการภาษาไทย
คำนาม.
การพัฒนาการอ่านรู้เรื่อง และสื่อสารได้(Literacy)
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ สำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้น พื้นฐาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
การพิมพ์รายงาน / วิทยานิพนธ์
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
ธุรกิจ จดหมาย.
โครงการรถยนต์คันแรกกับภาษีสรรพสามิตรถยนต์
วัน พฤหัสบดี ที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๖
คุณธรรม ***** สภาพคุณงามความดี
การจดรายงานการประชุม
นักเรียนช่วงชั้นที่ 2 (ป.4-6)
วณิชากร แก้วกัน สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น
“แนวทางการจัดตั้งชมรมเสริมสร้างวินัยประเทศไทยใสสะอาดเพื่อสร้างเครือข่าย การส่งเสริมคนดี มีวินัย น้อมเกล้าฯ ถวายในหลวง”
หนังสือภายใน และ หนังสือภายนอก
โครงการส่งเสริมการใช้ปุ๋ย เพื่อลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกร
เรื่อง การเขียนรายงาน
เรื่อง การเขียนรายงาน
เรื่อง การเขียนรายงาน
โรงเรียนบ้านละหาร เสนอ
โครงงาน คุณธรรมจริยธรรมในชั้นเรียน
ขั้นตอนการประเมินลูกจ้างชั่วคราวเงินบำรุง
การนำเสนอผลงานกลุ่ม หลักสูตร
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินความสามารถพื้นฐานที่จำเป็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ใน - ด้านภาษา ( Literacy ) - ด้านคำนวณ ( Numeracy ) - ด้านเหตุผล.
สำนักงาน ก.พ. ที่ นร ๑๐๑๒/ว ๒๐ ถนนพิษณุโลก กทม. ๑๐๓๐๐ ๓ กันยายน ๒๕๕๒
ชุมชนนักปฏิบัติ (CoPs)
การเขียนรายงาน.
หน่วยที่ ๙ การเขียนโครงการ
Worksheets for Workshop แบบฝึกปฏิบัติการ หลักสูตรการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ และการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร สถาบันการเรียนรู้กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง.
๙. เปรียบเทียบข้อมูลที่สรุป (ก.๗-๐๐๓ หน้า ๘)
แนวคิดและศิลปะในการร่างหนังสือราชการ
การประกาศ การประกาศ คือ การทำให้สาธารณชนทราบข่าวสารเรื่องเดียวกันอย่างแพร่หลาย โดยอาศัยสื่อสาธารณะชนิดใดชนิดหนึ่ง เช่น หนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ ป้ายประกาศสาธารณะ.
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าใช้จ่าย
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
การวิเคราะห์กลั่นกรองหนังสือราชการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
รูปแบบรายงาน.
ประโยคในการสื่อสาร จัดทำโดย ด.ช. อนันต์ ผลทับทิม เลขที่ ๔๓
แผนการจัดการเรียนรู้
บทที่ 4 งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
Workshop วิชาการถ่ายทอดความรู้วิทยากร ตาม worksheet 1-5.
หน่วยที่ ๗ การโฆษณา ความหมายของการโฆษณา
การเขียนรายงาน.
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
การพิมพ์จดหมายธุรกิจต่างประเทศต่าง ๆ
การติดตามงานโครงการส่งเสริมการเกษตรครั้งที่ ๓ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔
การเขียนโครงการ.
การสืบค้นสารสนเทศ สื่อบุคคล - แบบสอบถาม - การสัมภาษณ์
การเขียนจดหมายธุรกิจ
16. การเขียนรายงานการวิจัย
บทที่ 6 การตลาดทางตรงโดย สื่อไปรษณีย์และโทรศัพท์.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จดหมายกิจธุระ

    จดหมายกิจธุระเป็นจดหมายที่ใช้ติดต่อกับบุคคลทั้งที่เป็นเอกชน หรือบุคคลในหน่วยราชการตลอดจนบริษัทต่าง ๆ เพื่อสื่อสารถึงกิจธุระต่าง ๆ อาจใช้รูปแบบเหมือนหนังสือราชการหรือจดหมายราชการก็ได้ และใช้ภาษาระดับทางการ

 ส่วนประกอบของจดหมายกิจธุระ จดหมายกิจธุระ แบ่งส่วนประกอบได้ ๑๒ ส่วน ดังนี้    ๑."หัวจดหมาย"  เป็นส่วนของชื่อองค์กรหรือหน่วยงานที่เป็นต้นสังกัดของผู้ออกจดหมาย จะบอกรายละเอียดถึงหน่วยงานที่รับผิดชอบแลอยู่ที่หน่วยงาน ซึ่งจะมีตราองค์กรหรือตราหน่วยงานอยู่กลางหน้ากระดาษ ที่อยู่จะอยู่ทางขวามือของกระดาษ               ๒.“ลำดับที่ของจดหมาย” จะใช้คำว่า “ที่” ตามด้วย “เลขบอกลำดับที่ ของจดหมายตามด้วย ปี พ.ศ. โดยจะมีเครื่องหมาย “/” ทับคั่น เช่น ที่ ๕/๒๕๕๖  ลำดับอยู่ทางด้านซ้านของจดหมาย ซึ่งตรงกับที่อยู่ของผู้ออกจดหมาย ในส่วนลำดับที่ของจดหมายอาจมีตัวย่อของชื่อองค์กรได้ แต่คำย่อของชื่อองค์กรต้องเป็นที่รู้จักและยอมรับกันโดยทั่วไป เช่น ที่ ศธ๕/๒๕๕๖ “ศธ” เป็นอักษรย่อของ “กระทรวงศึกษาธิการ”                 ๓.“วัน เดือน ปี” จะเขียนอยู่กลางหน้ากระดาษต่อจากที่อยู่ของผู้ออกจดหมาย การเขียนวัน เดือน ปี ไม่ต้องเขียนคำว่า “วันที่ และ “ปี” ให้ระบุวัน เดือน ปี เท่านั้น  เช่น “๑๐ ตุลาคม ๒๕๕๖”                 ๔.“เรื่อง” เป็นสรุปสาระสำคัญของจดหมาย ควรเป็นประโยคสั้น กะทัดรัด และบอกวัตถุประสงค์ที่ออกจดหมาย เช่น “ขอความอนุเคราะห์......” “ขอเชิญเป็นวิทยากร”                  ๕.“คำขึ้นต้น” ใช้คำว่า “เรียน”ขึ้นต้นจดหมายทุกครั้ง จากนั้นตามด้วยชื่อ และนามสกุล หรืออาจตามด้วยตำแหน่งของผู้รับจดหมาย เช่น “เรียน นายวรพพล คงเดช” “เรียนผู้อำนวยการโรงเรียนมัธยมวัดนายโรง”                    ๖.“สิ่งที่ส่งมาด้วย” เป็นสิ่งที่ผู้ส่งจดหมายส่งให้ผู้รับ พร้อมจดหมาย เช่นรายละเอียดโครงการ เอกสารประกอบการประชุม หนังสือ 

๗.“ข้อความหรือเนื้อหาของจดหมาย” เป็นเนื้อหาสาระหลักของจดหมาย มักมี ๒ ย่อหน้า หากเนื้อหาจดหมายมีความยาวอาจ มี ๓ ย่อหน้า ก็ได้ • ย่อหน้าแรก บอกถึงสาเหตุที่ต้องเขียนจดหมาย หากเป็นจดหมายฉบับแรกต้องขึ้นต้นคำว่า “ด้วย” “เนื่องด้วย” “เนื่องจาก” เช่น  ด้วยกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง จะจัดการแสดงผลงาน โครงงานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ .......”                 “เนื่องด้วยห้องน้ำของโรงเรียนมัธยมวัดนายโรงมีสภาพชำรุดมาก ทำให้เกิดกลิ่นรบกวนและนักเรียนไม่ได้รับความสะดวกในการใช้......”                 “เนื่องจากชมรมจิตอาสา โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง จัดโครงการหนังสือเพื่อน้อง ประจำปี ๒๕๕๓.......”

หากเป็นกรณีการตอบจดหมาย หรือส่งจดหมายเพื่อติดตามเรื่อง ตำต้องเท้าความเรื่องที่ที่เคยติดต่อไว้ โดยใช้คำว่า “ตามที่” ขึ้นต้นเรื่องที่เท้าความ และใช้คำว่า “นั้น” ลงท้าย เช่น .............................................................................................................................................................                  “ตามที่ท่านได้สั่งซื้อวารสารเมืองโบราณฉบับย้อนหลัง ฉบับที่ ๓๑ และฉบับที่ ๓๒ จำนวนฉบับละ ๑เล่ม ในราคาเล่มละ ๑๒๐ บาทนั้น.......”                 “ตามที่ท่านได้ขอความอนุเคราะห์ให้ทางชมรมพระพุทธศาสนา โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง ส่งนักเรียนไปเข้าร่วมกิจกรรมวันวิสาขบูชา ณ มณฑลพิธีท้องสนามหลวง ในวันที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๕๖ นั้น......” ............................................................................................................................................................. • ย่อหน้าที่สอง บอกหรือย้ำวัตถุประสงค์ของจดหมายอย่างชัดเจน โดยใช้คำขึ้นต้นว่า “จึงเรียนมาเพื่อ......(บอกจุดประสงค์).......  เช่น จึงเรียนมาเพื่อทราบ, จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา,จึงเรียนมาเพื่อขอความอนุเคราะห์   ............................................................................................................................................................. “จึงเรียนมาเพื่อขอความอนุเคราะห์ บริจาคหนังสือเพื่อเข้าร่วมโครงการดังกล่าว และขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้”

๘. “คำลงท้าย” ใช้คำว่า “ขอแสดงความนับถือ” โดยให้เขียนตรงกับวันที่ ๙  ๘.“คำลงท้าย” ใช้คำว่า “ขอแสดงความนับถือ” โดยให้เขียนตรงกับวันที่                      ๙.“ลายมือชื่อ” เป็นลายมือชื่อจริงของผู้ลงชื่อ ห้ามใช้ตรายาง                     ๑๐.“ชื่อเต็มของผู้เขียนจดหมาย” ชื่อเต็มและนามสกุลจะเขียนใส่ไว้ในวงเล็บ หรืออาจจะพิมพ์ก็ได้ และจะต้องมีคำนำหน้าชื่อเสมอ เช่น “นายณเดช คูกิมิยะ” “นางสาวอุรัสยา สเปอร์บันด์”                       ๑๑.“ตำแหน่งของผู้เขียนจดหมาย” หากผู้เขียนจดหมายเป็นผู้มีตำแหน่ง รับผิดชอบงานของหน่วยงานที่ออกจดหมายจะต้องพิมพ์กำกับต่อท้ายเสมอ แต่หากออกจดหมายในนามชมรมในสถานศึกษา ต้องมีลายมือชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาชมรมกำกับท้ายจดหมายด้วย                        ๑๒. “หมายเลขโทรศัพท์ของผู้เขียนจดหมายหรือหน่วยงานที่ออก” ในส่วนนี้จะอยู่ลำดับสุดท้ายของจดหมาย และพิมพ์ชิดขอบจดหมายด้านซ้าย ควรระบุหมายเลขโทรศัพท์ โทรสาร และที่อยู่ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ด้วย