โครงการพัฒนาห้องช่างโลหะ อาคาร 7 โรงเรียนหล่มสักวิทยาคม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประชุมผู้ปกครองเครือข่าย
Advertisements

กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
รายงานการวิจัยในชั้นเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้
รายงานการวิจัยในชั้นเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้
สหกิจศึกษาทางรัฐศาสตร์
โดย... รัชนก พรหมจันทร์และคณะ หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย 2 และ RCU
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
นางสาวนงนวรัศมิ์ ทรัพย์สกุล โรงเรียนสัตหีบวิทยาคม อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
แรลลี่การกุศล MBA นนท์ รุ่น 1 ครั้งที่ 1
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ชมรมดนตรีสากล Science Music Club SMC.
ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อคุณภาพการสอนของครู
ผู้เป็นแกนบุญของชุมชน
โครงการพัฒนา ห้องเรียนในฝัน
นางสาวณัฏฐณิชา โพธิ์งาม
การปลูกพืชผักสวนครัว
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4-6 ชื่อแผน ออกแบบบ้านในฝันน่าอยู่
ตามยุทธศาสตร์การพัฒนายกระดับผลสัมฤทธิ์
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ชื่อเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความ คงทนในการเรียนรู้เรื่องความรู้เกี่ยวกับแผนธุรกิจ ( Business Plan ) วิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อมรหัส.
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
ผู้วิจัย นางสาวจันทรา แซ่หลิม สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2556 นางสาวกรรณิการ์ นัยผ่องศรี
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาทักษะการต่อวงจรการทำงานแบบอัตโนมัติกระบอกสูบแบบสองทางใน วิชางานนิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์ โดยวิธีการใช้วงจรฝึกปฏิบัติพร้อมแบบประเมินผลของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่
ผู้วิจัย นายสุวัฒน์ สุริยาวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
ชื่อเรื่องอะไรว่าไป ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ

วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ห้องรับแขกที่ดูสบายตา
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
เรื่อง การฟัง ดู คิดและพูด ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
“หนึ่งอำเภอหนึ่งโรงเรียนในฝัน” 921 โรงเรียน
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
“ การพัฒนาทักษะการออกแบบและประกอบวงจรใช้
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ผลงานวิจัย โดย อ.เอกพงษ์ วรผล.
การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพ
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
นายสมชาย มูลตุ้ย ผู้วิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
โดย นางสกุลยา กุลธนบูรณกิจ
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
พรชัย กิจเจริญ วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย โดยจัดกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ ด้วยวิธี STAD ของนักเรียน 501 สาขางานการบัญชี
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาระบบจัดการพลังงานใน อุตสาหกรรม ระดับชั้น ปวส.2/1 หมวดวิชาช่าง ยนต์ โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์
โดย นางวัลภา เก่งอักษร
โดย นายสมชาย เจือจาน โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
สภาพแวดล้อมภายในวิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การแก้ปัญหานักเรียนขาดการกระตือรือร้นในการเรียนภาคปฏิบัติ วิชางานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้นของนักเรียนชั้น ปวช.1/1 ช่างยนต์ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชามนุษยสัมพันธ์โดยใช้เทคนิคการทำงานเป็นทีม ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย นางบุษกร.
บทที่ 4 ข้อเสนอโครงการวิจัย
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการสร้างเว็บเพจ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย ที่ได้รับการสอนแบบ.
วิจัยในชั้นเรียน ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อแก้ไขพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ในรายวิชาช่างอุตสาหกรรม แผนก ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
โดย นางสาวสารภี ศุระศรางค์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการพัฒนาห้องช่างโลหะ อาคาร 7 โรงเรียนหล่มสักวิทยาคม โครงการพัฒนาห้องช่างโลหะ อาคาร 7 โรงเรียนหล่มสักวิทยาคม จัดทำโดย คณะนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/3 ปีการศึกษา 2553 โรงเรียนหล่มสักวิทยาคม อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์

ห้องช่างโลหะ อาคาร 7 โรงเรียนหล่มสักวิทยาคม ห้องช่างโลหะ อาคาร 7 โรงเรียนหล่มสักวิทยาคม

ความเป็นมาและความสำคัญของโครงการ จากการที่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/3 ได้เรียนวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี (งานช่าง) ที่อาคาร 7 โรงเรียนหล่มสักวิทยาคมแล้ว มีความรู้สึกว่าทัศนียภาพภายในห้องเรียนช่างโลหะนี้ ไม่ค่อยเป็นที่น่าเรียนเท่าไหร่นัก ห้องเรียนดูรกสกปรกสิ่งของภายในห้องนั้นว่างไม่เป็นระเบียบ ห้องเรียนมืดแสงสว่างไม่เพียงพอ รวมทั้งบรรยากาศโดยรวมแล้วไม่ดี ดูแล้วไม่เหมาะสมแก่การเรียนการสอน

วัตถุประสงค์ของของโครงการ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/3 ต้องการให้ห้องช่างโลหะ อาคาร 7 โรงเรียนหล่มสักวิทยาคมดูน่าเรียนมากยิ่งขึ้น โดยการเปลี่ยนสีห้องใหม่ให้ดูแล้วสว่างสะอาดตาขึ้น ตกแต่งห้องให้ดูสวยงาม ให้ดูแล้วสดใสสบายตา จะได้เป็นประโยชน์สำหรับครูผู้สอนและนักเรียนของนักเรียนโรงเรียนหล่มสักวิทยาคมทุกคน ที่ต้องใช้ห้องงช่างโลหะเป็นแหล่งศึกษาอีกในรุ่นต่อไป

ขอบเขตของโครงการ ขอบเขตการทำงาน 1.ทำความสะอาดห้องเรียนให้สะอาดโดยการ ถู เช็ด กวาด 2.ทาสีห้องเรียนในโทนสีที่ดูแล้วเย็นสบายตา 3.ตกแต่ภายในห้องไม่ว่าจะเป็นหน้าต่าง บอร์ด กระดานดำ 4.ทาสีหน้าต่างและผนังด้านนอก

ขอบเขตด้านประชากร ประชากรที่ใช้ในการทำโครงการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ คณะนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/3 โรงเรียนหล่มสักวิทยาคม ในปีการศึกษา 2553 และผู้ให้กาสนับสนุน จำนวน 34 คน จำแนกเป็น   1.ผู้ให้การสนับสนุนในการทำโครงการ จำนวน 2 ท่าน คุณครูอุไรวรรณ เพาะบุญ คุณครูผู้สอนรายวิชาการจักกิจกรรมสร้างสรรค์ประโยชน์ คุณครูสุทัศน์ เย็นใจ คุณครูผู้ดูแลตลอดการปฏิบัติกิจกรรม 2.คณะกรรมการการทำโครงการ จำนวน 4 คน ได้แก่ นางสาวอภิชญา สีวัน ประธาน นายจตุพล เติมพันธ์ รองประธาน นางสาวอภิชญา อาจหาญ เหรัญญิก นายอนิวัฒมน์ ภักไทย เลขานุการ 3.นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/3 โรงเรียนหล่มสักวิทยาคม จำนวน 28 คน

ขอบเขตของระยะเวลา ในการทำกิจกรมโครงการพัฒนาห้องช่างโลหะ อาคาร 7 โรงเรียนหล่มสักวิทยาคม ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลและเขียนรายงาน เริ่มตั้งแต่วันที่ 23 มกราคม พ.ศ.2554 ถึง วันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 รวมระยะเวลาประมาณ 3 สัปดาห์ (24 วัน)

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ เมื่อเกิดการปฏิบัติงานพัฒนาห้องช่างโลหะ อาคาร 7 โรงเรียนหล่มสักวิทยาคม ขึ้นมาก็ย่อมจะทำให้ห้องงช่างโลหะเกิดความสะอาด ดูสดใส สบายตา ทำให้ทุกคนอยากที่เข้ามาเรียนหรือใช้ห้องช่างโลหะ เพราะบรรยากาศของห้องเปลี่ยนไปจากเดิม และที่สำคัญอย่างยิ่งที่ขาดไม่ได้เลยคือความสามัคคีระหว่างเพื่อนร่วมชั้นที่ร่วมแรงร่วมใจกันทำโครงการนี้จนประสบผลสำเร็จ

ภาคผนวก

ก่อนและหลังทำกิจกรรมโครงการการพัฒนาห้องช่างโลหะ อาคาร 7 โรงเรียนหล่มสักวิทยาคม ก่อน หลัง

ก่อน หลัง

ก่อน หลัง

ขณะที่ทำกิจกรรมโครงการการพัฒนาห้องช่างโลหะ อาคาร 7 โรงเรียนหล่มสักวิทยาคม คุณครูสุทัศน์ กำลังผสมสีและบอกวิธีการทาสีที่ถูกต้อง

หลังจากได้คำแนะนำที่ดีแล้วทุกคนก็ช่วยกันทาสีหน้าต่างอย่างขมักเขม่น เพื่อนแต่ละคนต่างปฏิบัติหน้าที่ที่ตนถนัด และได้รับมอบหมาย

เพื่อนแต่ละคนต่างปฏิบัติหน้าที่ที่ตนถนัด และได้รับมอบหมาย เพื่อนแต่ละคนต่างปฏิบัติหน้าที่ที่ตนถนัด และได้รับมอบหมาย

ผลสำรวจโครงการการพัฒนาห้องช่างโลหะ อาคาร 7 โรงเรียนหล่มสัก ผลสำรวจโครงการการพัฒนาห้องช่างโลหะ อาคาร 7 โรงเรียนหล่มสัก ชื่อ....................................................สกุล...........................................ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/...... แบบสอบถามความพึงพอใจการทำโครงการการพัฒนาห้องช่างโลหะ อาคาร 7 โรงเรียนหล่มสักวิทยาคม ให้ใช้เครื่องหมาย / ลงบนช่อง 5,4,3,2,1 ข้อที่ ลายละเอียด ระดับความพึงพอใจ 5 4 3 2 1 ความเป็นระเบียบหลังการปฏิบัติงาน การจัดตกแต่งบอร์ดอุปกรณ์การช่างที่หน้าต่าง ความเหมาะสมของห้องเรียนและบรรยากาศภายในห้อง ห้องเรียนมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมากน้อยเพียงใด ผู้เข้าเรียนมีความพึงพอใจกับการพัฒนาห้องขึ้นใหม่มากน้อยเพียงใด เกณฑ์การประเมิน ดีมาก = 5 ดี = 4 เกือบดี = 3 พอใช้ = 2 เกือบพอใช้ = 1 ข้อเสนอแนะ .................................................................................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................................................................................