Southeast Asia เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
Southeast Asia Studies เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีความหมายอย่างไร? กลุ่มประเทศเล็กๆ ที่มีความหลากหลาย อยู่ท่ามกลางยักษ์ใหญ่ – จีน , อินเดีย, มหาอำนาจตะวันตก อารยธรรมดั้งเดิม ความหลากหลายทางชาติพันธุ์และวัฒนธรรม ความแตกต่างทางการเมือง ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ 1 Introduction
อารยธรรมดั้งเดิม 1 Introduction
ความแตกต่างทางการเมือง 1 Introduction
Southeast Asia Studies แนวทางการศึกษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 1 Introduction
Southeast Asia Studies แนวทางการศึกษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ Cornell https://seap.einaudi.cornell.edu/ SOAS https://www.soas.ac.uk/cseas/ Yale http://cseas.yale.edu/ 1 Introduction
Southeast Asia Studies แนวทางการศึกษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา http://seas.arts.tu.ac.th/ ศูนย์เอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์ http://www.mekongchula.com/views/mekong_index.php?category=staff&action=category_list RCSD http://rcsd.soc.cmu.ac.th/home/ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา รัฐศาสตร์ มช. http://www.pol.cmu.ac.th/sections/course/master-asia.html 1 Introduction
สถานะความรู้ ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ชาญวิทย์ เกษตรศิริ ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ชาญวิทย์ เกษตรศิริ 1 Introduction
Law & Society in Southeast Asia การศึกษากฎหมายกับสังคม ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ https://www.soas.ac.uk/courseunits/15PLAH049.html http://programsandcourses.anu.edu.au/course/LAWS2229 1 Introduction
สัปดาห์สอบกลางภาค 10 - 19 กพ (งานชิ้นที่ 1) Outline สัปดาห์ที่ (วันที่) เรื่อง 1 (17 ธค.) 2 (24 ธค.) แนวคิดพื้นฐานในการศึกษากฎหมายกับสังคม และการศึกษากฎหมายเปรียบเทียบ 3 (7 มค.) ข้อมูลพื้นฐานของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ – ภูมิศาสตร์ ประชากร ชาติพันธุ์ 4 (14 มค.) ประวัติศาสตร์ร่วมของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 5 (28 มค.) มิติทางสังคม ศาสนาและวัฒนธรรม เศรษฐกิจและการเมือง โลกาภิวัตน์ 6 (4 กพ.) การศึกษาถึงโครงสร้างทางกฎหมาย – สถาบันทางกฎหมาย และระบบกฎหมาย มุมมองในการใช้กฎหมายจากพื้นฐานกฎหมายกับสังคม 7 (11 กพ.) มิติทางกฎหมายกับสังคมต่อการรวมกลุ่มเป็น ASEAN สัปดาห์สอบกลางภาค 10 - 19 กพ (งานชิ้นที่ 1) 8 (25 กพ.) การศึกษาจากภูมิรัฐศาสตร์ – Mainland Southeast Asia พม่า ลาว ไทย เขมร และเวียตนาม 9 (3 มีค.) – Maritime Southeast Asia มาเลเซีย สิงค์โปร์ ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซียและบรูไน 10 (10 มีค.) กรณีศึกษาจากประเด็น – กฎหมายเกี่ยวกับโครงสร้างของรัฐ สังคม ความเชื่อ 11 (17 มีค.) – กฎหมายอาญาและการลงโทษ 12 (24 มีค.-6เมย.) – กฎหมายกับจารีตประเพณี ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ และความหลากหลายทางเพศ 14 เมย. หยุดช่วงสงกรานต์ (งานชิ้นที่ 2) 13 (21 เมย.) – กฎหมายเกี่ยวกับครอบครัว ทรัพย์สิน สอบปลายภาค 1 Introduction
การประเมินผล 1. การมีส่วนร่วมในห้องเรียน แสดงความคิดเห็นต่อข้อถกเถียงต่างๆในห้องเรียน 20 คะแนน 2. การเขียนบทความ เลือกเรื่องที่ตนเองสนใจ เกี่ยวกับกฎหมายกับสังคม ในประเด็นต่าง ๆ เป็นงาน เขียนสั้น ๆ 2 เรื่อง (สามารถแก้ได้จนกว่าจะได้ คะแนนเป็นที่พอใน) 40 คะแนน 3. สอบปลายภาค (สอบ open book) 1 Introduction
แนวคิดพื้นฐานในการศึกษากฎหมายกับสังคม ความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายกับสังคม อิทธิพลของสังคม ต่อการบัญญัติกฎหมาย และการใช้กฎหมาย ลำพังการพิจารณาแค่บทบัญญัติของกฎหมาย ไม่เพียงพอต่อการทำ ความเข้าใจถึง ความเป็นจริงของสถานกฎหมายในสังคมนั้นๆ นำเอาแนวคิดในวิชากฎหมายกับสังคมมาเป็นพื้นฐานสำคัญของ การศึกษาวิชานี้ Law in Action ตัวอย่าง subjectivities in Thai Society by David M. Angel 1 Introduction
การศึกษากฎหมายเปรียบเทียบ Legal Families Romano – Germanic Legal Family Anglo – Saxon Legal Family Socialist Legal Family Religious Legal Family Traditional Legal Family ข้อวิพากษ์การจัดกลุ่มสกุลกฎหมายหลักของโลกเช่นนี้ ค่อนข้างล้าสมัยแล้ว เนื่องจาก ในปัจจุบัน แต่ละประเทศ แต่ละสังคม ไม่มีระบบกฎหมายใดที่ได้รับ อิทธิพลมาจากแหล่งใด แต่เพียงแหล่งเดียว แต่เป็นการรับเอาอิทธิพลอย่าง หลากหลาย เช่น ในประเทศไทย รับอิทธิพลจากกฎหมายโบราณจาก กฎหมายศาสนา (เช่นฮินดู – คัมภีร์พระธรรมศาสตร์) แม้จะประกาศตัวว่า เป็นระบบกฎหมายแบบลายลักษณ์อักษร แต่ก็มีการรับเอาหลักการของ รัฐธรรมนูญนิยมมาก รับเอาหลักกฎหมายบางเรื่องจากกฎหมายอังกฤษมา 1 Introduction
Map of Legal Families Legal Families
การศึกษากฎหมายเปรียบเทียบ Legal Method – นิติวิธี คือวิธีการใช้กฎหมายในสังคมนั้นๆ เช่น แหล่งที่มาของกฎหมายที่สำคัญคืออะไร (source of law) การตีความ กฎหมายหลักต้องตีความบังคับใช้อย่างกว้าง กฎหมายเฉพาะต้อง ตีความใช้บังคับอย่างแคบ (ดูเพิ่มเติมในหยุด แสงอุทัย, ความรู้เบื้องต้น กฎหมายทั่วไป; บวรศักดิ์ อุวรรโณ, กฎหมายมหาชน เล่ม 3) Legal System – ระบบกฎหมาย ที่มีการจัดประเภทกฎหมายออกเป็น Civil Law; Common Law & Case Law & Customary Law 1 Introduction