งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ดัชนีชี้วัดพลังงาน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ดัชนีชี้วัดพลังงาน."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ดัชนีชี้วัดพลังงาน

2 ความมั่นคงด้านพลังงาน
ดัชนีชี้วัดพลังงาน เดือน ม.ค. 2562 ความมั่นคงด้านพลังงาน ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน พลังงานและสิ่งแวดล้อม 55 อัตราส่วนการพึ่งพาตนเองในการจัดหาพลังงาน ขั้นต้น** (%) 4.63 ปริมาณการผลิตไบโอดีเซล B100* (ล้านลิตร/วัน) สัดส่วนมูลค่าพลังงาน** มูลค่าการนำเข้า พลังงานต่อมูลค่า การนำเข้าทั้งหมด (%) มูลค่าการส่งออก พลังงานต่อมูลค่า การส่งออกทั้งหมด (%) 15.1 3.5 R/P ratio*** น้ำมันดิบ (ปี) ก๊าซธรรมชาติ (ปี) 3 5 ปริมาณการผลิตเอทานอล* (ล้านลิตร/วัน) 1.0584 ความยืดหยุ่นการใช้ไฟฟ้า (พ.ศ ) 8.3 ความเข้มข้นของการใช้พลังงาน (EI)** (TOE/ล้านบาท) 0.8562 ความยืดหยุ่นการใช้พลังงาน (EE) (พ.ศ ) 17.6 การใช้ไฟฟ้าต่อ GDP** (GWh/ล้านบาท) 1.33 การใช้พลังงานขั้นสุดท้ายต่อหัวประชากร** (TOE/หัวประชากร) 2,821 การใช้ไฟฟ้า ต่อหัวประชากร*** (kWh/หัวประชากร) 1.90 การปล่อยก๊าซ CO2 ต่อการใช้พลังงาน* (พันตัน CO2/KTOE) 3.92 การปล่อยก๊าซ CO2 ต่อหัวประชากร** (ตัน CO2/หัวประชากร) 24.42 การปล่อยก๊าซ CO2 ต่อ GDP** (ตัน CO2/ล้านบาท) 0.441 การปล่อยก๊าซ CO2 ต่อหน่วยการผลิตไฟฟ้า* (กิโลกรัม CO2/kWh) หลักเกณฑ์การเปรียบเทียบดัชนีชี้วัดพลังงาน (เปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า) ความมั่นคงด้านพลังงาน R/P ratio : จำนวนปี R/P ratio มากกว่าปีก่อนหน้า ดี (หน้ายิ้ม) : จำนวนปี R/P ratio น้อยกว่าปีก่อนหน้า แย่ (หน้าบึ้ง) อัตราส่วนการพึ่งพาตนเองในการจัดหาพลังงานขั้นต้น : มากกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า ดี (หน้ายิ้ม) : น้อยกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า แย่ (หน้าบึ้ง) : เท่ากับช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า ปกติ (หน้าปกติ) ปริมาณการผลิตไบโอดีเซล B100 และการผลิตเอทานอล : ปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้น ดี (หน้ายิ้ม) : ปริมาณการผลิตลดลง แย่ (หน้าบึ้ง) สัดส่วนมูลค่าการนำเข้าพลังงานต่อมูลค่าการนำเข้าทั้งหมด : สัดส่วนมูลค่าการนำเข้าพลังงานลดลง ดี (หน้ายิ้ม) : สัดส่วนมูลค่าการนำเข้าพลังงานสูงขึ้น แย่ (หน้าบึ้ง) สัดส่วนมูลค่าการส่งออกพลังงานต่อมูลค่าการส่งออกทั้งหมด : สัดส่วนมูลค่าการส่งออกพลังงานสูงขึ้น ดี (หน้ายิ้ม) : สัดส่วนมูลค่าการส่งออกพลังงานลดลง แย่ (หน้าบึ้ง) ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน ความยืดหยุ่นการใช้พลังงาน / ความยืดหยุ่นการใช้ไฟฟ้า : ค่าระหว่าง 0.95 – 1.05 คงที่ (หน้าปกติ) : ค่าต่ำกว่า 0.95 ดี (หน้ายิ้ม) : ค่าสูงกว่า 1.05 แย่ (หน้าบึ้ง) ความเข้มข้นการใช้พลังงาน / การใช้ไฟฟ้าต่อ GDP / การใช้พลังงานขั้นสุดท้ายต่อหัวประชากร / การใช้ไฟฟ้าต่อหัวประชากร : ค่าต่อหน่วยลดลง ดี (หน้ายิ้ม) : ค่าต่อหน่วยเพิ่มขึ้น แย่ (หน้าบึ้ง) พลังงานและสิ่งแวดล้อม การปล่อยก๊าซ CO2 ต่อการใช้พลังงาน / ต่อหัวประชากร / ต่อ GDP / ต่อหน่วยการผลิตไฟฟ้า = ดี = ปกติ = ควรปรับปรุง เปรียบเทียบกับค่าดัชนีชี้วัดพลังงานช่วงเดียวกัน ของปีก่อนหน้า ยกเว้น ความยืดหยุ่นการใช้พลังงาน และความยืดหยุ่นการใช้ไฟฟ้า เปรียบเทียบกับค่า 1.0 หมายเหตุ : * คือข้อมูล ณ เดือนม.ค.ปี 2562 ** คือข้อมูล ปี 2561 *** คือข้อมูล ปี 2560

3 การผลิตพลังงานขั้นต้น
KTOE รวมทั้งสิ้น ก๊าซธรรมชาติ พลังงานทดแทน น้ำมันดิบ* ลิกไนต์ ที่มา: ชธ., กพร., กฟผ., พพ. *น้ำมันดิบและคอนเดนเสท หมายเหตุ: พลังงานทดแทน ม.ค. 62 เป็นข้อมูลเบื้องต้น

4 การใช้พลังงานขั้นสุดท้าย
KTOE รวมทั้งสิ้น น้ำมัน ไฟฟ้า พลังงานทดแทน ถ่านหิน/ลิกไนต์ ก๊าซธรรมชาติ ที่มา: สนพ., พพ. หมายเหตุ: พลังงานทดแทน ม.ค.62 เป็นข้อมูลเบื้องต้น

5 อัตราส่วนปริมาณสำรองต่อการผลิต (R/P ratio)
จำนวนปี ลิกไนต์ น้ำมันดิบ คอนเดนเสท ก๊าซธรรมชาติ ที่มา : ชธ. หมายเหตุ : R/P Ratio ของลิกไนต์ คำนวณโดย สนพ R = ปริมาณสำรองที่พิสูจน์แล้ว

6 อัตราส่วนการพึ่งพาตนเองในการจัดหาพลังงานขั้นต้น
% *เดือน ม.ค. 62 อัตราส่วนการพึ่งพาตนเองในการจัดหาพลังงานขั้นต้น = (การผลิตพลังงานขั้นต้น/ การจัดหาพลังงานขั้นต้น ) x 100 ที่มา: ชธ., ธพ., พพ., กพร., ศก., กฟผ., ปตท.

7 อัตราส่วนการพึ่งพาตนเองรายเชื้อเพลิง
% ก๊าซธรรมชาติ 72% ถ่านหิน/ลิกไนต์ 20% น้ำมัน** 19% อัตราส่วนการพึ่งพาตนเอง = (การผลิตพลังงาน/ การจัดหาพลังงาน ) x 100 **น้ำมันดิบและคอนเดนเสท ที่มา: ชธ., ธพ., พพ., กพร., ศก., กฟผ., ปตท.

8 การนำเข้าน้ำมันดิบ % อื่นๆ ตะวันออกไกล ตะวันออกกลาง ที่มา: ธพ. 25 20
10 15 ตะวันออกกลาง ที่มา: ธพ. * เดือน ม.ค.62

9 นำเข้าจากประเทศเมียนมา
การนำเข้าก๊าซธรรมชาติและ LNG % LNG 42 54 นำเข้าจากประเทศเมียนมา 58 46 ที่มา: ปตท. * เดือน ม.ค.62

10 สัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า
% พลังงานหมุนเวียน พลังน้ำ 9 11 นำเข้า 13 11 น้ำมัน ถ่านหิน/ลิกไนต์ 4 4 18 17 ก๊าซธรรมชาติ 57 57 ที่มา : กฟผ., PEA, กฟน. * เดือน ม.ค.62

11 ปริมาณการผลิตไบโอดีเซล B100
ล้านลิตร/วัน 4.63 3.17 ล้านลิตร/วัน พ.ศ. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. 2560 3.17 3.43 3.31 3.34 4.17 4.60 4.16 4.21 4.20 3.81 4.13 4.38 2561 4.62 5.20 4.67 4.44 4.28 3.92 3.96 3.90 4.07 4.57 4.46 2562 4.63 ที่มา : พพ. หมายเหตุ: เดือน ม.ค. 62 เป็นข้อมูลเบื้องต้น

12 ปริมาณการผลิตเอทานอล
ล้านลิตร/วัน 4.63 4.24 ล้านลิตร/วัน พ.ศ. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. 2560 4.24 4.58 4.31 3.56 3.62 4.30 3.69 4.38 3.92 3.79 3.38 2561 4.64 4.69 4.44 3.51 3.88 4.10 3.89 4.02 3.82 3.52 4.23 2562 4.63 ที่มา : พพ. หมายเหตุ: ปริมาณการผลิตเอทานอล ม.ค. 62 เป็นข้อมูลเบื้องต้น

13 สัดส่วนมูลค่าการนำเข้าพลังงานต่อมูลค่าการนำเข้าทั้งหมด
% ที่มา: ธปท., สนพ.

14 สัดส่วนมูลค่าการส่งออกพลังงานต่อมูลค่าการส่งออกทั้งหมด
% ที่มา: ธปท., สนพ.

15 Source: NESDB, EPPO, DEDE
ความยืดหยุ่นการใช้พลังงาน ความยืดหยุ่นการใช้พลังงาน (Energy Elasticity) พ.ศ Energy Elasticity ช่วง 10 ปี Remark: Final Energy Demand Included Renewable Energy Source: NESDB, EPPO, DEDE

16 Source: NESDB, MEA, PEA, EGAT
ความยืดหยุ่นการใช้ไฟฟ้า ความยืดหยุ่นการใช้ไฟฟ้า (Electricity Elasticity) พ.ศ Electricity Elasticity ช่วง 10 ปี Remark: Final Energy Demand Included Renewable Energy Source: NESDB, MEA, PEA, EGAT

17 ความเข้มข้นของการใช้พลังงาน (Energy Intensity)
TOE/ล้านบาท ความเข้มข้นของการใช้พลังงาน (Energy Intensity : EI) = การใช้พลังงานขั้นสุดท้าย (Final Energy Consumption :FEC) / GDP GDP : chain volume measures (reference year = 2002) จาก สศช. ที่มา : สศช., สนพ., พพ.

18 การใช้ไฟฟ้าต่อ GDP GWh/ล้านบาท
ELC = การใช้ไฟฟ้า (Electricity Consumption) GDP : chain volume measures (reference year = 2002) จาก สศช. ที่มา : สศช., กฟผ., กฟน., PEA

19 การใช้พลังงานขั้นสุดท้ายต่อหัวประชากร
TOE/หัวประชากร 1.33 TOE/หัวประชากร พ.ศ. 2546 2547 2548 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 FEC/POP 0.89 0.99 1.00 1.04 1.06 1.08 1.13 1.16 1.22 1.23 1.27 1.29 1.30 1.32 1.33 FEC = การใช้พลังงานขั้นสุดท้าย (Final Energy Consumption) POP = จำนวนประชากร (Population) ที่มา: ปค., สนพ., พพ.

20 การใช้ไฟฟ้าต่อหัวประชากร
kWh/หัวประชากร 2,821 1,693 kWh/หัวประชากร พ.ศ. 2546 2547 2548 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 ELC/POP 1,693 1,858 1,943 2,035 2,111 2,138 2,128 2,337 2,323 2,510 2,537 2,590 2,660 2,770 2,796 2,821 ELC = การใช้ไฟฟ้า (Electricity Consumption) POP = จำนวนประชากร (Population) ที่มา : ปค., กฟผ., กฟน., PEA

21 การปล่อยก๊าซ CO2 ต่อการใช้พลังงาน
พันตัน CO2/ KTOE *เดือน ม.ค. 62 2.17 1.90 การใช้พลังงาน หมายถึงการใช้พลังงานขั้นต้นโดยรวมถึงการใช้พลังงานทดแทน พันตัน CO2/KTOE พ.ศ. 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 CO2 2.17 2.14 2.13 2.10 2.08 2.06 2.03 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562* 2.00 2.04 1.97 1.98 1.99 1.95 1.90 ที่มา: สนพ., พพ.

22 การปล่อยก๊าซ CO2 ต่อหัวประชากร
3.92 2.65 จำนวนประชากร จากกรมการปกครอง (ปค.) กระทรวงมหาดไทย ตัน CO2/หัวประชากร พ.ศ. 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 CO2 2.65 2.37 2.43 2.44 2.46 2.60 2.73 3.02 3.09 3.08 3.18 พ.ศ. 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 CO2 3.21 3.28 3.45 3.50 3.74 3.85 3.88 3.92 3.90 ที่มา: ปค., สนพ.

23 การปล่อยก๊าซ CO2 ต่อ GDP
29.80 24.42 GDP (CVM) จากสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ ปีอ้างอิง พ.ศ. 2545 ตัน CO2/ล้านบาท พ.ศ. 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 CO2 29.80 28.71 28.25 28.35 27.82 28.51 28.12 26.88 26.47 26.37 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 27.20 26.80 27.04 27.08 26.51 27.13 26.77 26.29 25.22 24.42 ที่มา: สศช., สนพ.

24 การปล่อยก๊าซ CO2 ต่อหน่วยการผลิตไฟฟ้า
กิโลกรัม CO2/kWh 0.634 0.441 การผลิตไฟฟ้าในที่นี้ หมายถึง การผลิตไฟฟ้ารวมของ EGAT และการผลิตไฟฟ้าสุทธิของ IPP, SPP และ VSPP กิโลกรัม CO2/kWh พ.ศ. 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 CO2 0.634 0.604 0.587 0.573 0.581 0.571 0.570 0.560 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562* 0.551 0.530 0.532 0.507 0.493 0.471 0.461 0.441 ที่มา: สนพ., กฟผ., กฟน., PEA


ดาวน์โหลด ppt ดัชนีชี้วัดพลังงาน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google