แบบทดสอบหลังเรียน 5 คะแนน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
1.
Advertisements

การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
Integrated Network Card
เรื่อง แนวทางการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
เฉลยใบงานที่ 1 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
วิธีติดตั้งเครื่องพิมพ์ Pinter Driver Printer คืออะไร Driver Printer คือโปรแกรมที่ใช้สำหรับการบริหารจัดการ printer ให้สามารถใช้งานได้เต็มประสิทธิภาพ ??
การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
จัดทำโดย นางสาวชฏาภรณ์ กลิ่นสุคนธ์ เลขที่ 4 นางสาวณัฏฐวรรณ พรมมินนทร์ เลขที่ 7 นางสาวธันยพร วงค์จักร เลขที่ 11 นางสาวอัจฉรา สิทธิ เลขที่ 32.
วิชา. การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในชีวิตประจำวัน บทที่ 2
โดย คุณครูนัฏฐา อัครวงษ์ โรงเรียนวังข่อยพิทยา
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
Information Technology
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ ( หน่วยเทคโนโลยี บริการ ) โครงการอบรมพัฒนาบุคลากร คณะแพทยศาสตร์ และ โรงพยาบาล มหาวิทยาลัยนเรศวร งานเทคโนโลยีสารสนเทศ ( หน่วยเทคโนโลยี
1 ระบบสื่อประสม วิวัฒนาการและ องค์ประกอบ. 2 ระบบสื่อประสม (multimedia system)  ระบบสื่อประสม หมายถึง การนำ องค์ประกอบของสื่อชนิดต่างๆ มา ผสมผสานเข้าด้วยกัน.
แบบทดสอบ ก่อนเรียน – หลัง เรียน (Pre – Test) กลับ หน้า หลัก เริ่มทำ ข้อสอบ.
องค์ประกอบฮาร์ดแวร์ คุณลักษณะเฉพาะของเครื่อง คอมพิวเตอร์ ทำงานได้ด้วยชุดคำสั่งหรือโปรแกรม สามารถจำข้อมูลหรือชุดคำสั่งได้ ทำงานได้อย่างถูกต้อง ทำงานได้อย่างรวดเร็ว.
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ หน่วยรับเข้า และ หน่วยส่งออก ( In put, Out put )
บทที่ 2 โครงสร้างและหน้าที่ การทำงาน ของระบบคอมพิวเตอร์
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
วิธีการเลือกซื้อ คอมพิวเตอร์. เนื้อหาในส่วนนี้จะให้รายระเอียดและขั้นตอน ในการเลือกซื้อ เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้เราได้เครื่อง คอมพิวเตอร์ที่ตรงกับความ.
งานวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ 4/3 เรื่อง INPUT และ OUTPUT จัดทำโดย นาย ชาญชัย ศรีน้อย เลขที่ 3 นาย ณัฐดนัย จันทมาศ เลขที่ 4 นาย อุดมศักดิ์ เกื้อนะ เลขที่
Input Output อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เสนอ อ. อภิเดช จิตมุ่ง โดย นางสาว ผกาวดี ช่วงชุณส่อง เลขที่ 43 นางสาว ธนาภรณ์ คำเรือง เลขที่ 39 นางสาว ณัฐวรรณ ห่วงกลาง.
การเชื่อมต่ออุปกรณ์ต่างๆ การเชื่อมต่อเมาส์และ คีย์บอร์ด การเชื่อมต่อจอภาพ 1 2 ช่องเสียบหัวต่อ สายไฟ เข้ากับตัวเครื่อง และสายจอภาพ จอภ าพ คีย์บอ.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์. เนื้อหาหลัก คอมพิวเตอร์คืออะไร คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ ประเภทของเครื่อง คอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
ระบบสื่อประสม วิวัฒนาการและองค์ประกอบ
สื่อประสมเบื้องต้น.
บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
คอมพิวเตอร์..เทคโนโลยีในโลกปัจจุบัน
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
บทที่ 3 ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
บทที่ 3 ฮาร์ดแวร์.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
Overview 13 October 2007
บทที่ 1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
คอมพิวเตอร์คืออะไร      คอมพิวเตอร์เป็นองค์ประกอบหนึ่งของเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อประโยชน์ต่อการแสวงหาสารสนเทศ เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถรับโปรแกรมและข้อมูล.
บทที่ 2 ระบบคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
บทที่ 2 องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ (Computer Hardware) สอนโดย อ
โครงสร้างภาษา C Arduino
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
Basic Input Output System
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
บทที่ 8 การควบคุมระบบสารสนเทศทางการบัญชี : การควบคุมเฉพาะระบบงาน
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
SMS News Distribute Service
บทที่ 2 เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
โครงสร้างคอมพิวเตอร์ (Computer Organization)
บทที่ 2 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
เมนูหลัก ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
บทที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แบบทดสอบหลังเรียน 5 คะแนน Hardware มีหน้าที่อย่างไร 2 คะแนน กระบวนการทำงานของคอมพิวเตอร์มีอะไรบ้าง อธิบายมาอย่างละเอียด 2 คะแนน จงบอกวิธีการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์แบบพกพา 1 คะแนน

บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ Computer Hardware

ความหมายของ Hardware Hardware หมายถึง ส่วนที่ประกอบเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือส่วนประกอบที่เกี่ยวข้องกับเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมทั้งอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ เข้ากับคอมพิวเตอร์ที่เราสามารถมองเห็นและสัมผัสได้โดยมีทั้งภายในและภายนอกตัวเครื่อง

ระบบการทำงานของ Computer Input Process Output Memory หน่วยความจำหลัก หน่วยความจำรอง

หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) รับข้อมูลหรือคําสั่งจากภายนอกเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจํา เพื่อเตรียมประมวลผลข้อมูลที่ต้องการ หน่วยประมวลผลกลาง (Center Processor Unit : CPU) จดจำและบันทึกข้อมูลต่างๆที่ถูกส่งมาจากหน่วยรับข้อมูล จัดเก็บไว้ชั่วคราวก่อนที่จะส่งต่อไปให้หน่วยประมวลผล หน่วยประมวลจะทำหน้าที่ 2 ประการ คือ หน่วยควบคุม (Contral Unit) ดูแล ควบคุมลําดับขั้นตอนของการประมวลผล และการทํางานของอุปกรณ์ต่างๆ ภายในหน่วยประมวลผลกลาง  และช่วยประสานงานระหว่างหน่วยประมวลผลกลาง กับอุปกรณ์นําเข้าข้อมูล อุปกรณ์ในการแสดงผล และหน่วยความจํารอง หน่วยคำนวณและตรรกะ(Arithmetic and Logic Unit : ALU) คํานวณ และเปรียบเทียบข้อมูลต่างๆ ที่ส่งมาจากหน่วยควบคุม และหน่วยความจํา หน่วยความจำ (Memory Unit) ถือได้ว่าเป็นส่วนที่สำคัญที่สุดหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือคําสั่งต่างๆ ที่รับจากภายนอกเข้ามาเก็บไว้ เพื่อประมวลผลและยังเก็บผลที่ได้จากการประมวลผลไว้เพื่อแสดงผลอีกด้วย หน่วยความจำหลัก (Primary Storage Unit/Internal Storage Unit)  เป็นหน่วยความจําที่มีอยู่ ในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ทําหน้าที่ในการเก็บคําสั่งหรือข้อมูล หน่วยความจำรอง (Secondary Storage Unit)  เป็นหน่วยความจําที่อยู่นอกเครื่อง มีหน้าที่ช่วยให้หน่วยความจําหลักสามารถเก็บ ข้อมูลได้มากขึ้น หน่วยแสดงผลลัพธ์ (Output Unit) แสดงผลลัทธ์ที่ได้หลังจากการคํานวณและประมวลผล

ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ แบ่งส่วนสำคัญ 5 ส่วน หน่วยรับข้อมูล หน่วยประมวลผล หน่วยความจำ หน่วยแสดงผล อุปกรณ์ต่อพวงอื่น ๆ

Input Device Input

1. Keyboard เป็นอุปกรณ์ที่นำเข้าขอมูล เช่น ตัวอักษร อักขระ ตัวเลข ตัวอักขระพิเศษ ประเภทของคีย์บอร์ด 6 ประเภท คีย์บอร์ดมาตรฐาน แบ่งส่วนการทำงานหลัก ๆ ดังต่อไปนี้ คีย์บอร์ดติดตั้งภายใน คีย์บอร์ดเออร์โกโนมิกส์ คีย์บอร์ดไร้สาย คีย์บอร์ดบกพา คีย์บอร์เสมือน

คีย์บอร์ดมาตรฐาน

คีย์บอร์ดติดตั้งภายใน

คีย์บอร์ดเออร์โกโนมิกส์

คีย์บอร์ดไร้สาย

คีย์บอร์ดบกพา

คีย์บอร์เสมือน

ประเภทชี้ตำแหน่งและควบคุมทิศทาง (pointing Device) 2. เมาส์ เมาส์ใช้งานทั่วไป เมาส์แบบแสงหรือออปติคอลเมาส์ แทรคบอล (Trackball) แผ่นรองสัมผัสหรือทัชแพค (Touch pad) แท่งชี้ควบคุมหรือพอยติงสติ๊ก (Pointing stick) จอยสติ๊ก (Joystick) พวงมาลัยบังคับทิศทาง (Wheel) จอสัมผัสหรือทัชสกีน (Touch Screen)

แทรคบอล (Trackball)

แผ่นรองสัมผัสหรือทัชแพค (Touch pad)

แท่งชี้ควบคุมหรือพอยติงสติ๊ก (Pointing stick)

จอยสติ๊ก (Joystick)

พวงมาลัยบังคับทิศทาง (Wheel)

จอสัมผัสหรือทัชสกีน (Touch Screen)

3. ประเภทปากกาแสง (pen – Based Device) Stylus (สไตลัส) Digitizer (ดิจิตอล)

Stylus (สไตลัส)

Digitizer (ดิจิตอล)

ประเภทข้อมูลมัลติมีเดีย ไมโครโฟน กล้องถ่ายรูปดิจิตอล กล้องวิดีโอดิจิตอล เว็บแคม

ไมโครโฟน

กล้องถ่ายรูปดิจิตอล

กล้องวิดีโอดิจิตอล

เว็บแคม

ประเภทสแกนและอ่านข้อมูลด้วยแสง สแกนเนอร์ โอเอ็มอาร์ ข้อสอบแบบเลือกคำตอบ เครื่องอ่านบาร์โค้ด เอ็มไอซีอาร์ เครื่องอ่านพิกัด

สแกนเนอร์

โอเอ็มอาร์ ย่อมาจาก optical mark reader หรือที่แปลว่า เครื่องอ่านสัญลักษณ์ด้วยแสง ใช้ในการอ่านรหัสแท่ง (bar code) หรือตรวจข้อสอบแบบมีตัวเลือก (multiple choices)

เครื่องอ่านบาร์โค้ด

เอ็มไอซีอาร์ (Magnetic Ink Character Recognition system)

เครื่องอ่านพิกัด

ประเภทตรวจสอบข้อมูลทางกายภาพ ไบโอเมตริกส์

หน่วยประมวลผลกลาง Central Processing Unit (CPU) หน่วยคำนวณและตรรกะ (Arithmetic & Logical Unit: ALU) หน่วยควบคุม (Control Unit)

อุปกรณ์ประมวลผล Process Device CPU เป็นอุปกรณ์ประมวลผล ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ เปรียบเสมือนกับสมองของมนุษย์ เรียกกันว่า ไมโครโปรเซสเซอร์ ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานและประมวลผลข้อมูลที่ได้จากจุดรับจากอุปกรณ์ข้อมูลเข้า Input สถาปัตยกรรมที่ใช้ในการออกแบบซีพียู มี 2 แนวกว้าง ๆ คือ RISC (Reduced Instruction Set Computer) CISC (Complex Instruction Set Computer)

ความแตกต่างของสถาปัตยกรรม CPU จากที่กล่าวมาทั้งหมด สามารถสรุปง่ายๆ ได้ว่า สถาปัตยกรรมที่ออกแบบมาทาง RISC จะทำงานเร็วกว่า CISC - การที่จะเลือกใช้งาน CPU ตัวนึงควรตรวจสอบดูว่าเป็น RISC หรือไม่ซึ่งจริงๆแล้ว Pentium ที่ใช้ๆ กันอยู่ก็ยังคงเป็นแค่ CISC อยู่

หน่วยความจำหลัก Primary Storage หน่วยความจำแบบ Rom (Read – Only – Memory) หน่วยความจำแบบ Ram (Random Access Memory) ประเภทของ Ram แบ่งออกเป็น 2 ประเภท - SIMM - Dram - DIMM - SD – RAM - DDR – RAM

หน่วยความจำรอง Hard disk - IDE - EIDE - SCSI - Floppy disk - CD , CD-R, CD-RW,DVD - รีมูฟเอเบิลไดร์ฟ (Flash drive,Pen Drive, Thump Drive) - Zip Drive สื่อบันทึกข้อมูล - Magnetic Opitcal Disk Drive สื่อบันทึกข้อมูลมีความจุพอๆ กับ Floppy disk - Tape backup อุปกรณ์สำรองข้อมูล

Min board

Chip Set

หน่วยเก็บข้อมูลรอง แบ่งออก 4 ประเภท สื่อเก็บข้อมูลแบบจานแม่เหล็ก สื่อเก็บข้อมูลแสง สื่อเก็บข้อมูลแบบเทป สื่อเก็บข้อมูลอื่น ๆ

สื่อเก็บข้อมูลแบบจานแม่เหล็ก

สื่อเก็บข้อมูลแสง

สื่อเก็บข้อมูลแบบเทป

สื่อเก็บข้อมูลอื่น

อุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ (Output Device) Terminal เทอร์นินอล CRT Monitor จอซีอาร์ที LCD Monitor จอแอลซีดี Projector โปรเจคเตอร์

Terminal เทอร์นินอล

CRT Monitor จอซีอาร์ที

LCD Monitor จอแอลซีดี

Projector โปรเจคเตอร์

อุปกรณ์สำหรับพิมพ์งาน Print Device Dot matrix Printer เครื่องพิมพ์แบบดอทเมตริกซ์ Laser Printer เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์ Ink – Jet Printer เครื่องพิมพ์แบบอิงค์เจ็ต Plotter พลอตเตอร์

Dot matrix Printer เครื่องพิมพ์แบบดอทเมตริกซ์

Laser Printer เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์

Ink – Jet Printer เครื่องพิมพ์แบบอิงค์เจ็ต

Plotter พลอตเตอร์

อุปกรณ์ขับเสียง Audio Device Speaker ลำโพง Headphone หูฟัง

อุปกรณ์ต่อพ่วงอื่น ๆ โมเด็ม (Modem) Card Lan

โมเด็ม (Modem)

Card Lan

การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ความจำเป็น วัตถุประสงค์ในการใช้งาน งบประมาณ

คุณสมบัติของเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่ควรพิจารณา หน่วยประมวลผลกลาง CPU แผงวงจรหลัก แรม Hard disk การ์ดแสดงผล จอภาพ ซีดีรอมไดร์ฟ อุปกรณ์เก็บข้อมูลสำรอง การ์ดเสียง อุปกรณ์เชื่อมต่อระบบเครือข่าย เครื่องพิมพ์

การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์แบบพกพา คอมพิวเตอร์แบบพกพา มี 3 แบบ โน้ตบุก,เดสโน๊ต,แทบเล็ต พีซี จอภาพ แบตเตอร์รี่ หน่วยความจำ ฮาร์ดดิสค์ ระบบมัลติมีเดีย โมเด็ม เน็ตเวิร์คการ์ด

องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ ประกอบ 4 ประเภท Hard ware Soft ware System Soft ware Application Soft ware 3. People ผู้ใช้งานทั่วไป - ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ นักวิเคราะห์ระบบ - นักเขียนโปรแกรม นักเขียนโปรแกรมบนเว็บไชต์ นักเขียนโปรแกรมสำหรับใช้งานเฉพาะอย่าง นักเขียนโปรแกรมระบบ วิศวกรซอฟต์แวร์ - ผู้ดูแล เน็ตเวิร์ก ผู้บริหารสูงสุดด้านสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ - หัวหน้างานด้านคอมพิวเตอร์ 4. ข้อมูล / สารสนเทศ (Data / Information)

กระบวนการแปลงข้อมูล ขั้นตอนที่ 1 การป้อนข้อมูลตัวอักษร ขั้นตอนที่ 2 ส่งต่อไปยังระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ ขั้นตอนที่ 3 แปลงตัวอักษรในรูปแบบของมาตรฐานรหัส Ascll ขั้นตอนที่ 4 แสดงผลบนอุปกรณ์แสดงผล

หน่วยวัดความจุข้อมูล Kilobyte KB = 1024 bytes Megabyte MB = 1048576 bytes Gigabyte GB = 1073741824 bytes Terabyte TB = 1099511627776 bytes

หน่วยวัดความจุข้อมูล Kibibyte Kib = 1024 byte Kilobyte KB = 1000 byte Mebibyte Mib = 1048576 byte Megabyte MB = 1000000 byte Gibibyte GiB = 1073741824 byte Gigabyte GB = 1000000000 byte Tebibyte TiB = 1099511627776 byte Terabyte TB = 1000000000000 byte

กิจกรรมและความสัมพันธ์ของแต่ละองค์ประกอบ คอมพิวเตอร์เกี่ยวกับการจัดพิมพ์เอกสาร ผู้ใช้ User ป้อนข้อมูลเข้า User Input ร้องของบริการ Service Requests สั่งการฮาร์ดแวร์ Hardware Instructions ประมวลผลลัพธ์ Processing Results ตอบสนองบริการ Service Responses แสดงผลลัพธ์ Program Output

รีจิสเตอร์ Accumulate Register เก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการคำนวณ Storage Register เก็บข้อมูลและคำสั่งชั่วคราวที่ผ่านจากหน่วยความจำหลัก หรือ รองส่งกลับไปหน่วยความจำหลัก Instruction Register เก็บคำสั่งในการประมวลผล Address Register บอกตำแหน่งของข้อมูลและคำสั่งในหน่วยความจำ

วงรอบการทำงานของCPU 4 ขั้นตอน ขั้นที่ 1 ดึงข้อมูลจากหน่วยความจำ -รีจิสเตอร์ ขั้นที่ 2 แปลรหัสคำสั่งที่ได้รับมา - หน่วยควบคุม ขั้นที่ 3 คำนวณและส่งต่อผลลัพธ์ - หน่วยคำนวณ เก็บผลลัพธ์ที่ได้ลงในหน่วยความจำ - หน่วยความจำ (Memory)