Service Profile :หน่วยล้างไตทางช่องท้อง(CAPD) รพร.เดชอุดม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
1. แนวทางการรับคำสั่งการใช้ รถ การประกันระยะเวลาการ รับส่งผู้ป่วย 4. ความรู้ความสามารถของ พขร. ในเรื่องการช่วยฟื้นคืนชีพ การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย กฎจราจร.
Advertisements

สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. การประเมินผู้รับบริการก่อน ให้บริการ 2. การเฝ้าระวังผู้รับบริการกลุ่ม เสี่ยง 3. การเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีการ แพร่กระจายเชื้อ 4. การมีส่วนร่วมในทีมสห.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. การให้การดูแลผู้ป่วยแบบ ปฐมภูมิ 2. การประเมินผู้ป่วยตามความ รุนแรง 3. การดูแลผู้ป่วยที่อาจมีอาการ เปลี่ยนแปลง 4. การป้องกันและการเฝ้าระวัง การติดเชื้อในชุมชน.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ประชุมติดตามผลการดำเนินงานเกณฑ์มาตรฐานระบบงานเยี่ยมบ้าน
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
โรงพยาบาลคลองหลวง จ.ปทุมธานี
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
การประเมินผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
รพ.พุทธมณฑล.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
คณะที่ ๒ : การพัฒนาและจัดระบบบริการฯ หัวข้อ : ระบบบริการปฐมภูมิ
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
Service Plan 5 สาขาหลัก.
การจัดบริการคลินิกชะลอไตเสื่อม(CKD Clinic)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
ร้อยละของผู้ป่วย DM, HT ที่ได้รับการค้นหาและคัดกรองโรคไตเรื้อรัง เขตสุขภาพที่ 3 ปี 2557 – 2560(Q2)
Service plan สาขาไต เครือข่ายบริการสุขภาพ อำเภอนาทวีจังหวัดสงขลา
จำนวนเตียงจำนวนผู้รับบริการ
COMPETENCY DICTIONARY
3P กับการพัฒนาคุณภาพ สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
ห้องผ่าตัด วิสัญญีและ ห้องคลอด
งาน Palliative care.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
RF COC /Palliative care.
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
ระบบข้อมูลโรคเรื้อรังที่ผ่านมา
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
แพทย์หญิงดนุชา ช่อเฟื้อง
ถอดรหัสตัวชี้วัด Service plan สาขา Palliative care
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จังหวัดเชียงใหม่
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
ห้องผ่าตัด วิสัญญีและ ห้องคลอด
Service Profile : งานกายภาพบำบัด กลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟู
ขดลวดพยุงสายยาง.
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
Service Profile :PCT ศัลยกรรม รพร.เดชอุดม
การอบรมฟื้นฟูความรู้ผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุ (Care Manager : CM)
Service Profile หอผู้ป่วย กุมารเวชกรรม
พญ.สุพรรณี สุดสา โรงพยาบาลอุดรธานี
งานวิสัญญี รพร.เดชอุดม
Service Profile : ตึกศัลยกรรมกระดูก ความเสี่ยง/ความท้าทาย
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
การเตรียมการตรวจประเมินตัวชี้วัด 3.4 Best Service
จุดเน้นในการพัฒนา/แผนพัฒนา ความเสี่ยง/ความท้าทาย
ประเด็นติดตาม Palliative care.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Service Profile :หน่วยล้างไตทางช่องท้อง(CAPD) รพร.เดชอุดม บริบท ความต้องการของผู้รับผลงาน ผู้ป่วย CAPD ได้รับการพยาบาลตามมาตรฐานการพยาบาลอย่างมี คุณภาพ สะดวก รวดเร็ว ตั้งแต่เข้ารับการบริการจนจำหน่ายออกจาก แผนก - ปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อนสามารถดำรงชีวิตได้ตามอัตภาพ - ได้รับการช่วยเหลือในภาวะฉุกเฉินและวิกฤติได้อย่างทันท่วงทีและมี ประสิทธิภาพ ข้อกำหนดวิชาชีพ มาตรฐานการพยาบาลเฉพาะทางCAPD มาตรฐานงานคุณภาพ CAPD ตามเกณฑ์สมาคมโรคไต ความรู้และทักษะเจ้าหน้าที่ จุดเน้นขององค์กร เป็นศูนย์บริการการแพทย์เฉพาะทางที่มีคุณภาพและ ให้บริการแบบองค์รวม ส่งเสริมการมีสวนร่วมของภาคีเครือข่าย พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการ พัฒนาสมรรถนะและคุณภาพชีวิตบุคลากร ประเด็นคุณภาพที่สำคัญ : ให้คำปรึกษาการบำบัดทดแทนไต(RRT) เพื่อเตรียมความพร้อมรับการฟอกไตในผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะสุดท้าย ให้คำแนะนำชะลอไตเสื่อมในผู้ป่วยไตเรื้อรัง stage 3-5 ดูแลรักษาผู้ป่วย CAPD แบบองค์รวม ร่วมกับสหสาขาวิชาชีพ และติดตามเยี่ยมบ้านร่วมกับภาคีเครือข่ายไต ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2557 2558 2559 จำนวนผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย(ระยะที่ 4-5) (CKD Clinic) (คน) ลดลง 272 307 280 จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับ RRT (การให้คำปรึกษาในการบำบัดทดแทนไต) เพิ่มขึ้น 118 321 378 Peritonitis rate ในผู้ป่วย CAPD >30 episode/ 33 22 25 Exit site Infection rate ในผู้ป่วย CAPD >50 episode/ 301 371 1,065   Pt/month อัตราการเกิดภาวะทุพโภชนาการในผู้ป่วย CAPD (Albumin ในเลือด < 3.5) 36.63% 53.69% 61.60% Maltality rate ในผู้ป่วย CAPD < 20% 28% 17% 29% C/S negative rate ≤ 20% 60% 50% 49% ทบทวน ประเมิน เรียนรู้ จุดเน้นในการพัฒนา/แผนพัฒนา Purpose : ผู้ป่วย CAPD มีคุณภาพชีวิตที่ดีปราศจากภาวะแทรกซ้อนจากการล้างไตทางช่องท้องและมีอายุยืนยาว กระบวนการหลัก ผู้ป่วย ESRD อายุรแพทย์ประเมินความรีบด่วนในการล้างไต ส่งพบ PD Nurse เพื่อ RRT มี 3 ทางเลือก: 1. conservative -> Supportive Rx. ส่ง COC เยี่ยมบ้าน->ส่ง Palliative care 2. เลือก HD 3. เลือก CAPD Refer พบ Nephrologist ที่รพศ. ประเมินอาการก่อนทุกราย . Admit ตึกอายุรกรรมหญิง/ชาย ผ่าตัดวางสาย . Break in 14 วัน/ ครบ 7 วันหลัง OR ส่ง Test flow/ประเมินแผล 1 ครั้ง/wk . ครบ Break in 14 วัน -> ศ๋ง training CAPD ตามprogram( 1-2 wk/case) . วางแผนจำหน่าย F/U CAPD Clinic 1 ครั้ง/เดือน, ประสานทีมสหสาขาวิชาชีพ ส่ง HHC หลังวางสาย วัตถุประสงค์ จุดเน้นในการพัฒนา/แผนพัฒนา พัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ ความรู้ในการดูแลผู้ป่วย CAPD แก่พยาบาล/เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ทั้งภายในรพ./รพ.สต./ภาคีเครือข่ายโซน ทบทวนระบบการเก็บ Lab ส่งตรวจกับจนท.ที่เกี่ยวข้อง เสริม Empowerment ผู้ป่วยและ care giver อย่างต่อเนื่อง ทบทวน case/ความเสี่ยงสำคัญอย่างต่อเนื่อง พัฒนาระบบภาคีเครือข่ายเยี่ยมบ้าน CAPD ต่อเนื่องในชุมชน พัฒนาระบบสารสนเทศและการสื่อสารร่วมกับภาคีเครือข่ายในชุมชน พัฒนางานคุณภาพ R2R ด้าน CAPD เก็บตัวชี้วัดคุณภาพชีวิตผู้ป่วย CAPD ความเสี่ยง/ความท้าทาย อัตรา Peritonitis rate ยังไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน กระบวนการเก็บ Lab PDF ส่งตรวจของจนท.ยังไม่ได้คุณภาพ และ ผลlab เกิดความคลาดเคลื่อน ลดภาวะ Malnutrition ( Albumin > 3.5) - การเชื่อมโยงเครือข่ายชุมชนในการมีส่วนร่วมดูแลผู้ป่วย CAPD เช่น รพ.สต./รพช.ลูกข่าย/ อปท./ผู้นำชุมชนยังไม่ครอบคลุม - จนท.ที่เกี่ยวข้องยังขาดความรู้ความเข้าใจในการดูแลผู้ป่วย CAPD โรค/หัตถการสำคัญ ESRD,DM,HT,CKD